Page 44 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 44

36




                                                             ิ่
                                                   ้
                                         ั
                                                                 ื่
                          และตามแผนการพฒนาแหลงนำระดับทองถน เมอดำเนินโครงการตามแผนการพัฒนาแหลงน้ำระดับ
                                                           ั
                          ทองถน เมอดำเนินโครงการตามแผนการพฒนาแหลงน้ำระดับทองถิ่นจำนวน 1,400 โครงการ จะทำให
                               ิ่
                                   ื่
                          ในพื้นที่รับประโยชนเพิ่มขึ้นอีก 186,447 ไร
                                                                                                  ู
                                    ิ
                                                                           ิ
                                                                    ั
                                                         ั
                              พระชุตกานต (2560) ไดศึกษาการจดการปญหาภยแลงที่เกดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมิอากาศ
                          ของอำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี  พบวา
                              1.  สภาพปญหาและผลกระทบของภัยแลงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                          ของอำเภอทองผาภูมิในปจจุบันอยในลักษณะพ้นที่ปาเหลือนอย สภาพอากาศแปรปรวน
                                                                    ื
                                                         ู
                          และเปลี่ยนแปลงรวดเร็วไมเปนไปตามฤดูกาล ฤดูหนาวสั้นลง ฤดรอนยาวนานขึ้นและอุณหภูมิสูง
                                                                               ู
                          ฤดูฝนประสบภาวะฝนทิ้งชวงและตกในปริมาณนอย มีผลกระทบตอระบบชลประทานทายน้ำ
                                             ิ
                          ความคงที่ของอุณหภูมเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิลดลงและเพิ่มขนอยางรวดเร็ว ระบบนิเวศในพื้นที่ปา
                                                                           ึ้
                                                                ี
                          บริเวณแหลงนำธรรมชาติเปลี่ยนแปลงและเสยสมดุล แหลงน้ำธรรมชาติลดและแหงอยางรวดเร็ว
                                      ้
                                               ื้
                          เกิดความแหงแลงในหลายพนที่ ดินเสื่อมโทรมไมดูดซับน้ำ ภาคเกษตรผลผลิตคุณภาพตำและมีปริมาณ
                                                                                             ่
                                    
                                                               
                                                        ั
                                                  
                                                                       ้
                                                                       ึ
                          ลดลง ผลกระทบดานสุขภาพ ออนไหวกบการเจ็บปวยงายขน
                                                                                      ู
                                                             ี่
                              2. กระบวนการจัดการปญหาภัยแลงทเกดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมิอากาศ ของหนวยงาน
                                                              ิ
                                                                                   ั
                                                                                                  ื
                                                                                  ่
                                                            ั
                                                          ิ
                                                         ู
                                                                           ู
                                                                         ี
                          ภาครัฐและประชาชนในอำเภอทองผาภม จงหวัดกาญจนบุร มีรปแบบทีชดเจน 3 ประการ คอ
                                                                                           ื้
                                1) การแกไขปญหาเฉพาะหนา โดยการนำรถบรรทุกน้ำไปแจกจายในพนที่ขาดแคลนน้ำ
                                                                                     
                                         
                          เพอชวยบรรเทาความเดือดรอน และสูบนำจากแมนำขนมาใช
                            ื
                            ่
                                                                  ึ
                                                                  ้
                                                               
                                                                ้
                               
                                                         ้
                                                               
                                2)  การแกไขปญหาระยะยาว มีการขุดบอบาดาลสรางระบบประปาหมูบาน สรางฝายชะลอน้ำ
                                                                  ้
                                                                                         ่
                                                                          ่
                          ขุดบอเกบน้ำ ระบบประปาภูเขาควบคุมการปลอยนำเสียและสิงปฏิกลลงแหลงน้ำเพือรักษาคุณภาพน้ำ
                                                                               ู
                                 ็
                                                ั
                                      3)  การแกปญหาในลกษณะ ปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษธรรมชาติ ทางหนวยงานภาครัฐลงพื้นท  ี่
                                                                          
                                                                                                     
                          ใหความรประชาชน เรือง ดน ปา นำ การสรางฝายรณรงคใหมการปลูกปาชวยกนรักษาตนไม
                                                                              
                                                        ้
                                                     
                                                                               ี
                                  
                                                                                             ั
                                                  ิ
                                             ่
                                  ู
                                                                                        
                          พยายามสรางจิตสำนึกรวมกันในชุมชน
                              3. แนวทางในการจดการปญหาภัยแลงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในอำเภอทองผาภูม  ิ
                                             ั
                          จังหวัดกาญจนบุรี ตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน คือ
                                    1) แนวทางการจัดการดานมนุษย ประชุมและรวมมือกันแกไขปญหาอยางพรอมเพรียง
                          ปลูกจิตสำนึกคนรุนหลังตั้งแตเด็ก รูจักพึ่งพาตนเอง รูจกประมาณ ผูนำสามารถเสียสละประโยชนตน
                                                                     ั
                          เพื่อประโยชนสวนรวมได
                                2) แนวทางการจัดการดานสังคม แบงหนาที่รับผิดชอบ ทำกิจกรรมสวนรวมเพอพัฒนาสังคม
                                                                                              ื่
                          ใชระบบ บวร บาน วัด รัฐ ประสานกันในการแกไขปญหา มีกลุมหรือองคกรเล็ก ๆ เปนลักษณะเซลล
                                                                                             
                              ุ
                                                                                                 ี่
                                                                           ิ
                                                ั
                                                                                   ื่
                          ในทก ๆ หมูบานประสานกนเปนเครือขายและรวมตัวกันทำกจกรรมเพอสังคม ทำแผนทสังคมเพื่อ
                          แกไข จุดออน/พัฒนาจุดแข็ง สรางความสัมพันธที่ดีอยูเสมอ
                                                                                                       
                                                                                                     ื
                                                                                                    
                                                                                               
                                                                                          ั
                                                                       ู
                                                                                   ั
                                                                   ั
                                3) แนวทางการจัดการดานธรรมชาติ รวมกนปลกปาในวาระสำคญ แจกพนธไมผล ไมยนตน
                          และสมุนไพรใหปลูก สนับสนุนการสรางปาชุมชน และสงเสริมใหเปนแหลงศึกษาปาธรรมชาติเชื่อม
                                                                                                 ื
                                                                                                       ี
                          กับการทองเที่ยว ชุมชนใชประโยชนจากปาชุมชนไดตามขอตกลงรวมกัน เนนรักษาพ้นที่ปาท่มี
                          ใชพลังมวลชนคุมครองทรัพยากรธรรมชาติ ใชสารชีวภาพในการเกษตรแทนการใชสารเคมี
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49