Page 41 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 41

33





                          3.5  สาเหตุการเกิดภัยแลง

                                                                                       ุ
                                     ี่
                              ภัยแลงทเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ เชน การเปลี่ยนแปลงของอณหภูมิในชั้นบรรยากาศ
                                                              ี
                                                                                                      
                          หรือระดับน้ำทะเลที่สงผลตอระบบการหมุนเวยนของกระแสอากาศและสภาพภูมิอากาศโลก ทำใหเกด
                                                                                                       ิ
                          ความผันผวนของสภาวะอากาศในฤดูกาลปกติ ความแปรปรวนของสภาพอากาศทตามมาสามารถเกิดไดทั้ง
                                                                                      ี่
                                             ิ
                                    ิ
                                                   ุ
                                    ้
                          ปรมาณฝนทงชวง การเกดพายหมนเขตรอนจำนวนมากในมหาสมทร การเปลียนแปลงของปริมาณน้ำใตดิน
                             ิ
                                                                          ุ
                                                                                   ่
                                                                     ิ
                          รวมถงการเกิดภัยธรรมชาติอื่น ๆ ที่เปนสาเหตุของการเกดภัยแลง เชน วาตภัย และแผนดินไหว ภัยแลง
                               ึ
                              ิ
                          ที่เกดจากการกระทำของมนุษย ทั้งจากการใชทรัพยากรน้ำในการอุปโภค-บริโภค ทสิ้นเปลือง และ
                                                                                             ี่
                                                                                    ็
                                                                                             
                          การทำการเกษตรที่ขาดการวางแผนอยางเหมาะสม สงผลใหปริมาณน้ำกกเกบในเขื่อน อางเกบน้ำตาง ๆ
                                                                                 ั
                                                                                                ็
                          แหลงน้ำธรรมชาติ หรือแมแตปริมาณน้ำใตดินลดลง ลวนเปนสาเหตุของการเกิดภยแลง นอกจากนี้
                                                             
                                                                                           ั
                                                                          
                                                                           
                                               ึ
                            ิ
                          กจกรรมของมนุษยรวมไปถงพฤติกรรมการดำรงชีวิตของมนุษยในดานตาง ๆ เชน การตัดไมทำลายปา
                                                                                ิ
                                                        ั
                                                                ุ
                          การเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล และการพฒนาของอตสาหกรรมที่ทำใหเกดมลภาวะมากมายที่สงผลกระทบ
                          ตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปจจุบัน
                                                                              ิ
                              นอกจากปรากฏการณเอลนิโญ (El Niño) เปนสาเหตุของการเกดภัยแลงในหลายพื้นที่แลว ยังเปน
                                                                
                          ปรากฏการณทางธรรมชาติที่มีความรุนแรงในระดับทสงผลกระทบตอปริมาณน้ำฝนและหยาดน้ำฟาใน
                                                                                                      
                                                                   ี่
                          หลายประเทศทั่วโลก ซึ่งการขาดแคลนน้ำ และสภาวะความแหงแลง สามารถสรางความเสียหายโดยตรง
                                                                                            ู
                              ื
                          ตอพชพรรณในธรรมชาติ และพืชผลทางการเกษตร ผลกระทบโดยตรงตอการดำรงอยของมนุษย และ
                              ี
                          สิ่งมชีวตในระบบนิเวศ ภาวะการขาดแคลนน้ำทำใหเกดการเจ็บปวยลมตายของทั้งพืชและสัตวที่นำไปสู
                                                                   ิ
                                ิ
                          การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Loss) และปญหาตาง ๆ ในสังคมของมนุษย
                          ทั้งคุณภาพชีวต ปญหาทางดานเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม เชน ความอดยาก การตกงาน หรือ
                                         
                                      ิ
                                                                               
                                                                                                      
                                                                                                    
                                                 ้
                                                         ิ
                          ความเปลียนแปลงของแหลงนำธรรมชาตทสามารถสรางความเสียหายตอระบบนิเวศในระยะยาว เปนตน
                                  ่
                                                          ่
                                                          ี
                          3.6  แนวทางการจัดการพื้นที่เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยแลงดานการเกษตร
                                                 ี่
                                         ั
                              แนวทางการจดการพื้นทเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยแลงดานการเกษตร ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 ระยะ
                                                                                            
                          คือ แนวทางในการจัดการพื้นทระยะสั้น จะดำเนินการในฤดูแลงหรือชวงที่เกิดภัยแลงข้นเปนการ
                                                                                                 ึ
                                                    ี่
                                                                   ื้
                          เฝาระวังและติดตามและเตือนภัยลวงหนาบริเวณพนที่ที่ประสบภยแลง สวนแนวทางในการจัดการ
                                                                              ั
                          พนที่ระยะยาว นั้นเปนการเสนอแนะแนวทางการปองกน และการจัดการฟนฟพื้นที่ทประสบภยแลง
                                                                      ั
                                                                                             ี่
                                                                                                    ั
                                                                                        ู
                            ื้
                                                                                     
                          ใหสามารถนำกลับมาใชประโยชน ดังนี้ (สำนักบริหารและพัฒนาการใชที่ดิน, 2549)
                              3.6.1  แนวทางในการจัดการพื้นที่ระยะสั้น ไดแก
                                  1)  การเตือนภัยแลงในชวงฤดูแลง ผานทางเว็บไซต http://irw101.ldd.go.th/index.php
                                  2) เฝาระวังพื้นที่ที่ประสบภัยแลงซ้ำซากเปนพิเศษ
                                                  ื้
                                                      ี่
                                                                     ั
                                                                                            ิ
                                  3) รายงานสรุปพนที่ทคาดวาจะประสบภยแลงหรือเสียหายเพื่อประเมนความเสียหาย
                          และใหการชวยเหลือเบื้องตน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46