Page 35 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 35

26



               ตารางที่ 6 หน่วยหินทางอุทกธรณีวิทยาในกลุ่มหินอุ้มน้ าประเภทหินร่วนของประเทศไทย (ต่อ)
                               หน่วยหินทาง       หน่วยหินทาง
                    อายุ                                                ลักษณะของชั้นน้ าในพื้นที่ต่างๆ
                                ธรณีวิทยา       อุทกธรณีวิทยา
                Quaternary  Recent and        ชั้นน้ าระยอง      1. พื้นที่ภาคใต้ โดยส่วนใหญ่เป็นชั้นน้ าในทราย
                              Old Beach       (Rayong            ชายหาดบางๆ ความหนาไม่เกิน 10 เมตร น้ า
                              Sand            Aquifers, Qry)     บาดาลจืดมักลอยตัวอยู่เหนือชั้นน้ าเค็ม แต่บาง

                                                                 พื้นที่อาจพบแนว old beach sand เป็นชั้น
                                                                 ทรายหนา บางแห่งเกินกว่า 50 เมตร ท าให้น้ า
                                                                 บาดาลจืดปริมาณสูง เช่น ต.บางเบิด อ.บาง

                                                                 สะพาน ( ให้น้ า < 20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง )
                                                                 old beach sand ตรงบริเวณสนามบิน จ.ภูเก็ต
                                                                 และหลายพื้นที่ใน จ.นราธิวาส
                                                                 2. พื้นที่ภาคตะวันออก เป็นแหล่งน้ าบาดาลระดับตื้น
                                                                 ที่ตีแผ่กว้างในพื้นที่ชายฝั่งหลายแห่ง เช่น บริเวณ

                                                                 ตั้งแต่อ่างศิลา จนถึงบริเวณหาดผาแดง บริเวณหาด
                                                                 พัทยา-นาจอมเทียน บริเวณชายหาดของสัตหีบ บริเวณ
                                                                 แอ่งบ้านค่าย และหาดบ้านเพ-แม่พิมพ์ ของ จ. ระยอง

                                                                 อ่าวคุ้งกระเบน อ. ท่าใหม่ บริเวณชายฝั่งทะเลตั้งแต่
                                                                 จ. ตราด ถึง อ. หาดเล็ก เป็นต้น
                Quaternary  Colluvail         ชั้นน้ าพนัสนิคม      เป็นชั้นบาดาลในแหล่งหินร่วนที่หนา เกิดตาม
                              deposits        (Phanut Nikhom  พื้นที่ที่ลาดเอียงเชิงเขาในทุกพื้นที่ของ  ประเทศ

                                              Aquifers, Qpn)     โดยส่วนใหญ่มักจะต้องเจาะบ่อน้ าบาดาลระดับ
                                                                 ลึก แต่ได้น้ าบาดาลปริมาณจ ากัด  เนื่องจาก
                                                                 ส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นดินเหนียวจากการผุ

                                                                 พังของหินแข็ง
                Quaternary  Eolian            ชั้นน้ าสันทรายลม     เป็นชั้นบาดาลระดับตื้นตามเนินทรายลมพัดพา
                              deposits        พัดพา              พบเฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                              (Sand Dune         โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  ในบริเวณพื้นที่ใจกลางแอ่ง

                                              Aquifers)          ของแอ่งโคราช โดยส่วนใหญ่บ่อน้ าบาดาลที่ได้น้ า
                                                                 จากหินชุดนี้จะเจาะลึกไม่เกิน  40  เมตร หาก
                                                                 เจาะลึกมากๆ มักจะได้น้ าเค็ม
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40