Page 36 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 36

27



               ตารางที่ 6 หน่วยหินทางอุทกธรณีวิทยาในกลุ่มหินอุ้มน้ าประเภทหินร่วนของประเทศไทย (ต่อ)
                               หน่วยหินทาง       หน่วยหินทาง
                    อายุ                                                ลักษณะของชั้นน้ าในพื้นที่ต่างๆ
                                ธรณีวิทยา       อุทกธรณีวิทยา
                Miocene to  Younger           ชั้นน้ าเชียงราย   1. พื้นที่ภาคเหนือ แหล่งน้ าระดับตื้นแผ่เป็นพื้นที่
                Pleistocene  Terrace          (Chiangrai         บริเวณกว้างตามแอ่งต่างๆ ในพื้นที่ภาคเหนือ เช่น
                              Deposits        Aquifers, Qcr)     แอ่งแม่จัน แอ่งเชียงราย แอ่งแม่สรวย  แอ่งพะเยา

                                                                 แอ่งเชียงใหม่ แอ่งล าปาง แอ่งแพร่ เป็นต้น
                                                                 2.  พื้นที่ภาคกลางตอนบน  แหล่งน้ าระดับตื้น แผ่
                                                                 เป็นพื้นที่บริเวณกว้างเฉพาะพื้นที่ขอบแอ่ง  ด้าน

                                                                 เหนือ ของพื้นที่ราบภาคกลางตอนบนโดยเฉพาะใน
                                                                 บริเวณเขต จ. สุโขทัย บางส่วน  ของ จ. พิษณุโลก
                                                                 และพื้นที่ด้านทิศตะวันตกของ จ. ก าแพงเพชร
                                                                 3. พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หมวดหินน้ ามูล
                                                                 เป็นแหล่งน้ าพุตามขอบแอ่งด้านทิศใต้ของขอบแอ่ง

                                                                 โคราช ตั้งแต่อ าเภอชุมพวงของนครราชสีมา จนถึง
                                                                 จ. อุบลราชธานี บางส่วนที่รองรับด้วยหมวดหิน
                                                                 มหาสารคาม น้ าบาดาลในชั้นกรวดทรายมักจะเค็ม

                Pleistocene  Old terrace      ชั้นน้ าเชียงใหม่       เป็นชั้นน้ าบาดาลในชั้นกรวดทราย ท าให้เกิด
                              deposits        (Chiangmai         เป็นชั้นน้ าบาดาลหนา (multi-aquifers)  เจาะ
                                              Aquifers, Qcm)     พบในพื้นที่ต่างๆทั่วประเทศ เช่น
                                                                 1. พื้นที่ภาคเหนือ ตามแอ่งต่างๆ พื้นที่ใจกลาง

                                                                 แอ่งมักปิดทับด้วยหินตะกอนที่มีอายุอ่อนกว่า
                                                                 2. พื้นที่ภาคกลางตอนบนและตอนล่าง มักเจาะ
                                                                 พบชั้นน้ านี้แผ่กระจายเป็นพื้นที่บริเวณกว้างใน

                                                                 บริเวณพื้นที่ราบของแอ่ง
                                                                 3.  พื้นที่ภาคใต้  เจาะพบในบริเวณพื้นที่ราบ
                                                                 ชายฝั่งทะเล
                                                                 4. พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ หมวด
                                                                 หินคูเมือง และหมวดหินภูเขาทอง

                Tertiary      Mae Sot         ชั้นน้ าแม่สอด         เป็นชั้นน้ าบาดาลในแหล่งร่วนกึ่งแข็งตัว
                              Formation       (Mae Sot           (semi-consolidated rocks) เจาะพบตามแอ่ง
                                              Aquifers, Tms)     ต่างๆ ในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลางตอนบน และ

                                                                 ภาคใต้ ในแอ่งภาคกลางตอนล่าง หินชุดนี้อยู่ลึก
                                                                 มากกว่า 500  เมตร  ด้านบนปิดทับด้วยตะกอน
                                                                 หินร่วนที่มีอายุอ่อนกว่า
               ที่มา : กรมทรัพยาการน้ าบาดาล ( 2553)
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41