Page 37 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 37

28



               ตารางที่ 7 หน่วยหินทางอุทกธรณีวิทยาในกลุ่มหินอุ้มน้ าประเภทหินแข็งของประเทศไทย
                                  หน่วยหินทาง
                     อายุ                         ชื่อชั้นน้ าบาดาล       ลักษณะเด่นของชั้นน้ าบาดาล
                                   ธรณีวิทยา
                Tertiary to     หมวดหิน          ชั้นน้ าภูทอกตอนบน  ชั้นน้ าภูทอกตอนบนและตอนกลาง :
                Cretaceous      มหาสารคาม        ตอนกลาง และ            เป็นหินทรายลมพัดพาที่มีการประสานตัว
                                                 ตอนล่าง            น้อย  สีแดงอิฐ  มีแนวรอยแตกมาก  รูปแบบ

                                                 (Phutok Aquifer,  การไหลของน้ าบาดาลในแนวรอยแตกเป็น
                                                 KT )               แบบ "jet flow" ส่วนตามรอยระหว่างชั้นหิน
                                                   pt
                                                                    เป็นแบบ "blanket flow"

                                                                    ชั้นน้ าภูทอกตอนล่าง :
                                                                        ส่วนใหญ่เป็น mudstone หรือ claystone

                                                                    ให้น้ าเค็มยกเว้นกรณีที่ชั้นหินโผล่เหนือหรือ
                                                                    ใกล้ผิวดินที่แปรสภาพเป็น"Hard  Shale"  อาจ
                                                                    ได้น้ าบาดาลจืดในเกณฑ์ต่ าถึงปานกลาง

                Cretaceous      หมวดหิน          ชั้นน้ ามหาสารคาม  ชั้นหิน Clastic Units ตอนกลางและ
                                มหาสารคาม        Maha Sarakham  ตอนล่าง :
                                                 Aquifer (Kms)          ส่วนใหญ่เป็น mudstone หรือ claystone
                                                                    ให้น้ าเค็มยกเว้นกรณีที่ชั้นหินโผล่เหนือหรือใกล้

                                                                    ผิวดินที่แปรสภาพเป็น"Hard Shale" อาจได้น้ า
                                                                    บาดาลจืดในเกณฑ์ต่ าถึงปานกลางอาจเจาะได้น้ า
                                                                    บาดาลจืดตามเนิน "Inter-dome mounds"

                Cretaceous      หน่วยหินโคกกรวด  ชั้นน้ าโคราช          โดยส่วนใหญ่ให้น้ าบาดาลคุณภาพดีจาก
                                                 ตอนบน              แนวรอยแตกของชั้นหินในเกณฑ์ระหว่าง 5-10
                                                 Upper Korat        ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมงต่อบ่อหากเจาะไม่พบ
                                                 Aquifer (Kuk)      แนวรอยแตกก็อาจไม่ได้น้ าเลย แต่ในพื้นที่ที่มี
                                                                    หินภูเขาไฟแทรกดันชั้นหินจะมีรอยแนวแตก

                                                                    มาก และให้น้ าบาดาลปริมาณสูง
                Jurussic        หมวดหินภูพาน     ชั้นน้ าโคราช      ชั้นน้ าภูพาน-พระวิหาร :
                                หมวดหินเสาขรัว  ตอนกลาง                 เป็นหินทรายละเอียด หินทราย  และหิน

                                และหมวดหิน       (Middle Khorat     กรวดเนื้อแน่นแข็ง คงทนต่อการสึกกร่อน คง
                                พระวิหาร         Aquifer, Kmk)      รูปเป็นหน้าผาหรือภูเขายอดราบและเป็นชั้น
                                                                    หินหนา (massive)  มีแนวรอยแตกน้อย บ่อ
                                                                    น้ าบาดาลที่เจาะในหมวดหินเหล่านี้ มักได้น้ า

                                                                    ในเกณฑ์ต่ า หรือไม่ได้น้ าเลยหากเจาะไม่พบ
                                                                    แนวรอยแตก  แต่หากเจาะพบแนวรอยแตก
                                                                    ระดับลึก อาจได้บ่อน้ าพุ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42