Page 69 - Management_agricultural_drought_2561
P. 69

บทที่ 6


                                                การบริหารจัดการภัยแลง


                       ผลจากการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางสิ้นเปลืองจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพิ่มรายไดของประชาชาติ

               ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของประชากร การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก ไดสงผลใหเกิดปญหาดาน

               ภัยธรรมชาติ และทวีความรุนแรงและความถี่ในการเกิดมากขึ้นเรื่อยๆ แตละครั้งมักจะกอใหเกิดความเสียหาย
               เปนจํานวนมาก ดังนั้นจึงจําเปนจะตองมีแนวทางในการบริหารจัดการกับภัยพิบัติ ดวยการมีกรอบการดําเนินงาน

               และแผนงานที่ชัดเจน เพื่อเปนหลักใหหนวยงานที่เกี่ยวของรวมทั้งประชาชนไดนําไปปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม
               บรรเทาความสูญเสียและลดผลกระทบได โดยควรเนนไปที่การปองกัน การลดผลกระทบและการเตรียมพรอม

               กอนเกิดภัย การจัดการระหวางมีภัยและการฟนฟูภายหลังการเกิดภัยหรือภัยสงบแลว

               6.1     การบริหารจัดการภัยพิบัติของประเทศไทยในปจจุบัน

                       การบริหารจัดการ ตองมีองคประกอบในดานตางๆ ไดแก การเตรียมการปองกันและลดผลกระทบ

               การเตรียมพรอมเพื่อรับการเกิดภัย การจัดการระหวางการมีภัย และการจัดการฟนฟูหลังการเกิดภัยขึ้นมาแลว
               ปจจุบันไดมีการดําเนินการในเรื่องดังกลาวทั้งจากภาครัฐ เอกชน องคกรพัฒนาเอกชน ตลอดจนประชาชนเอง

               ก็มีการตื่นตัวในดานนี้เปนอยางดี ซึ่งในปจจุบันไดมีการดําเนินการดานตางๆ เพื่อการบริหารจัดการปญหาภัย
               พิบัติทางธรรมชาติ ไดแก

                       1) การจัดทําขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัยตางๆ
                       2) การติดตั้งระบบเตือนภัย (Early warning) ในบางจุดที่มีความเสี่ยง แมจะยังไมครอบคลุมทุกพื้นที่ก็ตาม

                       3) การฝกอบรมเพื่อเตรียมความพรอมในการเผชิญกับภัย ทั้งในระดับเจาหนาที่และประชาชน

                       4) การประชาสัมพันธเพื่อสรางความรู ความเขาใจ ดานการเกิดภัย การปฏิบัติเมื่อเกิดภัย และการ
               ฟนฟูหลังการเกิดภัย

                       5) การใหบริการขอมูลและขาวสาร

                       6) การวิเคราะหขอมูลพื้นที่ประสบภัยและการประเมินความเสียหายเบื้องตน เพื่อใหหนวยงาน
               ที่เกี่ยวของสามารถดําเนินการชวยเหลือไดทันเวลา และถูกตองเหมาะสม

                       7) การใหความชวยเหลือในดานตางๆ เมื่อเกิดภัย ทั้งดานการฟนฟูที่ทํากิน ที่อยูอาศัย สุขอนามัย
               ชีวิตความเปนอยู การประกอบอาชีพ และการฟนฟูดานจิตใจ


               6.2     แนวทางการพัฒนาพื้นที่แลงซ้ําซาก
                       พื้นที่เสี่ยงภัยแลง เปนพื้นที่มีแนวโนมในการขาดแคลนน้ํา ดังนั้นการจัดการเรื่องน้ําจึงเปนสิ่งสําคัญ

               ที่จะตองใหมีการเก็บกักน้ํา การชะลอการไหลของน้ํา และการเพิ่มระยะเวลาการไหลของน้ําใหยาวนานขึ้น
               เนื่องจากแหลงที่มาของน้ําในประเทศไทย ไดรับน้ําจากน้ําฝนในชวงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต พายุไตฝุน และ

               ดีเปรสชั่นที่พัดผาน ในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ซึ่งปริมาณฝนรวมตลอดปเฉลี่ยทั่วประเทศ

               มีคาประมาณ 1,572.5 มิลลิเมตร แนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่เพื่อเก็บกักน้ําฝนไวใชประโยชนใหมากที่สุดโดย
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74