Page 73 - Management_agricultural_drought_2561
P. 73

65



                       7.2.2   ดานขอมูลพื้นฐาน ซึ่งเปนสวนสําคัญในการประเมินความเสี่ยงในประเทศไทย โดยเฉพาะ

               ขอมูลความเสียหายจากภัยที่เกิดขึ้นจริงควรมีการจัดเก็บที่เปนระบบ และเปนมาตรฐานเดียวกัน ควรมีการ
               บันทึกตําแหนงที่เกิดความเสียหาย ลักษณะ และความรุนแรงของความเสียหาย ดังนั้นเมื่อมีการบันทึกขอมูล

               ใหครบถวนสมบูรณ และอยูในรูปแบบที่ถูกตอง จะทําใหมีประโยชนอยางมากในการประเมินความเสี่ยงจากภัย

               พิบัติใหมีความแมนยําและสมบูรณมากขึ้นตอไปในอนาคต
                       7.2.3   ดานเทคโนโลยี หนวยงานที่ทําการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติควรมีคอมพิวเตอร และ

               ซอฟตแวรที่เหมาะสมในการดําเนินงาน เนื่องจากขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงอยูในรูปแบบของ GIS
               จึงจําเปนตองใชโปรแกรมทางดาน GIS  ในการประมวลผล และควรมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเผยแพร

               ขอมูลสําคัญใหกับผูที่เกี่ยวของประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย และปฏิบัติการไดมีประสิทธิภาพมากที่สุด
                       7.2.4   ดานบุคลากร เนื่องจากการประเมินความเสี่ยงจําเปนตองใชผูเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา

               ดังนั้น หนวยงานภาครัฐควรมีความรวมมือกับสถาบันการศึกษาในการดําเนินงานรวมกัน นอกจากนี้ควรมีการ

               สงเสริมใหบุคลากรในหนวยงานมีความรูความเขาใจในเรื่องการประเมินความเสี่ยง มีการประยุกตใชผล
               ของการประเมิน รวมทั้งมีการสื่อสารขอมูลเพื่อประโยชนในการวางแผนพัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัยใหมีความ

               ปลอดภัยจากภัยพิบัติได

                       7.2.5   ดานการกระจายองคความรูเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยงสูพื้นที่ เพื่อลดความเสี่ยงจาก
               ภัยพิบัติ และการนําไปประยุกตใชในการวางแผนพัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัย จึงควรสงเสริมใหมีการเผยแพรความรู

               และความสําคัญของการประเมินความเสี่ยง

               7.3     ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

                       การประเมินพื้นที่เกษตรเสี่ยงตอการเกิดภัยแลง ทําใหมีขอมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่ที่มีความวิกฤต ที่อาจ
               เกิดความสูญเสียทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม สามารถลดความสูญเสีย ความรุนแรงจากภัยแลง

               เพื่อนําไปสูการดํารงชีวิตในภาวะความเสี่ยงไดดวยการปองกันและการเตรียมพรอมตอเหตุการณ และมีขอมูล
               เพื่อประเมินความเสียหาย ความสูญเสียไดอยางเปนรูปธรรมในการบริหารจัดการ และเปนแนวทางในการ

               พัฒนาพื้นที่ตอไป
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78