Page 72 - Management_agricultural_drought_2561
P. 72

บทที่ 7


                                                  สรุปและขอเสนอแนะ


               7.1     สรุป

                       ภัยแลงที่เกิดขึ้นบอยครั้งในประเทศไทย พื้นที่หรือภาคการผลิตที่ไดรับผลกระทบโดยตรงและมีปริมาณ

               มาก คือ ดานการเกษตร ซึ่งเปนแหลงรองรับการดํารงชีพของประชากรสวนใหญในประเทศ บอยครั้งที่เกิดภัยแลง
               ไดสรางความเสียหายแกเศรษฐกิจของประเทศ ในแตละครั้งรัฐตองสูญเสียเงินไปกับสิ่งเหลานี้ทั้งในชุมชนเมือง

               การเกษตร และสาธารณูปโภคเปนจํานวนมหาศาล เชน ใน พ.ศ. 2548 รัฐตองใชจายเงินไปทั้งสิ้นประมาณ
               7,565.86 ลานบาท

                       จากขอจํากัดของทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตและการดํารงชีพประกอบกับการเพิ่มขึ้นของประชากร

               ไทย และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก สงผลใหความสมดุลของธรรมชาติแปรเปลี่ยนไป ภัยแลงได
               ทวีความรุนแรงของการเกิด ทั้งดานปริมาณ และคุณภาพ ตลอดจนระยะเวลาที่อาจจะเกิดขึ้น

               การคาดการณไมสามารถทําไดอยางแมนยํานัก ดังนั้นหากมนุษยยังจําเปนจะตองอยูกับธรรมชาติอยางพึ่งพาและ
               ใชประโยชนตอไปแลว มนุษยจําเปนตองปรับตัวใหอยูรวมกับภัยพิบัติเหลานี้ใหได หนทางหนึ่งที่จําเปน คือจะตอง

               มีการบริหารจัดการที่ดี เหมาะสม ยืดหยุน ตามสถานการณที่แปรเปลี่ยนตลอดเวลา และมีความเปนไปได

               ในทางปฏิบัติ
                       ในที่นี้ไดทําการวิเคราะหถึงสาเหตุของการเกิดภัยพิบัติ ผลกระทบจากภัย ขอมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่เสี่ยงภัย

               ตลอดจนความเสียหายที่อาจไดรับจากภัย เพื่อนําไปสูแนวทาง มาตรการในดานการบริหารจัดการพื้นที่ที่เสี่ยง
               ตอการเกิดภัยธรรมชาติ เพื่อประโยชนในดานการปองกัน บรรเทาผลกระทบ เตรียมการเพื่อรับภัย การจัดการ

               เมื่อเกิดภัย และการจัดการหลังการเกิดภัย ซึ่งจะชวยลดความสูญเสียทั้งชีวิต และทรัพยสินของประชาชนในพื้นที่

               เสี่ยงภัยนั้นๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป

               7.2     ขอเสนอแนะ

                       การประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติจะมีความกาวหนาและแพรหลายมากขึ้น ควรมีการสงเสริมใหเกิด
               การพัฒนาในดานตางๆ ดังนี้

                       7.2.1   ดานการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย ไดแก หนวยงานในจังหวัด ภาคเอกชน และ
               ภาคประชาชน โดยเฉพาะในสวนที่ดูแลยุทธศาสตร และขอมูล เนื่องจากการประเมินความเสี่ยงจําเปนตองใช

               ขอมูลจากหลายหนวยงาน หนวยงานหลักที่เปนหนวยงานประสาน หรือขับเคลื่อนการดําเนินงานควรมีอํานาจ
               ในการเขาถึงขอมูลพื้นฐาน และขอมูลที่สําคัญในการประเมินความเสี่ยงดานตางๆ และมีการประสานงาน

               อยางมีประสิทธิภาพ โดยอาจใชกระบวนการจัดตั้งคณะทํางาน เพื่อเปนกลไกในการสรางความมีสวนรวม

               ของหนวยงานหรือกลุมคนที่เปนผูมีสวนไดสวนเสีย และควรเปนสวนหนึ่งของกระบวนการประเมินความเสี่ยง
               ตั้งแตเริ่มตน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77