Page 71 - Management_agricultural_drought_2561
P. 71

63



                             5)  สรางถังเก็บน้ําฝน เปนการรองรับน้ําฝนจากหลังคาบาน หลังคาโรงเรือนตางๆ เก็บน้ําฝน

               ไวใชประโยชนในฤดูแลง และชวยเพิ่มประสิทธิภาพการใชที่ดินมากขึ้น หรือการใชน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภค
                       6.2.3  การจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม

                             การเพาะปลูกพืชจําเปนตองอาศัยน้ํา ซึ่งสวนใหญไดรับจากน้ําฝน นอกจากปริมาณน้ําฝนที่

               ไดรับในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมแลว ยังตองพิจารณาถึงการกระจายของฝนในแตละพื้นที่ ซึ่งจะมี
               ฝนทิ้งชวงแตกตางกัน การเพาะปลูกจึงตองหลีกเลี่ยงระยะฝนทิ้งชวง เพื่อใหไดรับผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ บาง

               พื้นที่ก็มีปญหาน้ําทวมจากปริมาณน้ําทาที่ไหลเออลนฝงลําน้ํา อาจทําใหพืชผลเสียหาย การจัดระบบการปลูก
               พืชจึงตองคํานึงหรือหลีกเลี่ยง ทั้งชวงแลงและชวงน้ําทวม หรือการหาพันธุพืช ชนิดพืชที่เหมาะสมในแตละ

               ทองถิ่น
                             โดยทั่วไปฤดูกาลเพาะปลูกของประเทศไทย จะอยูในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม แต

               มีบางพื้นที่ เชน จังหวัดนครสวรรค จะเริ่มในเดือนกรกฎาคมถึงเดือนพฤศจิกายน และจังหวัดประจวบคีรีขันธ

               จะอยูในชวงเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายนเปนตน ดังนั้น การจัดระบบการปลูกพืชจึงตองคํานึงถึง สภาพพื้นที่
               ปริมาณน้ําฝน การกระจายของฝน

                       6.2.4  การปลูกหญาแฝก

                             หญาแฝกเปนพืชที่มีการเจริญเติบโตเร็ว แตกเปนกอแนน ตั้งตรง มีระบบรากฝอยที่ยาว
               แข็งแรง และยึดสานกันแนน รากหญาแฝกจะหยั่งลึกลงไปในดิน แนวดิ่งไดประมาณ 3 เมตร และในแนวนอน

               กวางประมาณ 0.5 เมตร รากหญาแฝกจึงเปรียบเสมือนกําแพงใตดิน ทําหนาที่เกาะยึดดิน เก็บรักษาน้ําในดิน
               การปลูกหญาแฝกสามารถทําไดงาย และมีประโยชนมาก เชน การปลูกหญาแฝกเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา

               การปลูกหญาแฝกเพื่อควบคุมรองน้ําและกระจายน้ํา การปลูกหญาแฝกเพื่อรักษาความชุมชื้นในดิน  การปลูก
               หญาแฝกเพื่อการปรับปรุงบํารุงดิน เปนตน

                       6.2.5  การเก็บน้ําไวใตดิน

                              การเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน เชน ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด เพื่อชวยใหดินเก็บกักน้ําไดมาก
               ขึ้น การรณรงคไถกลบตอซังแทนการเผาในพื้นที่เกษตร เพื่อลดการสูญเสียน้ําและสามารถใชเศษวัสดุทางกา

               เกษตรสําหรับคลุมดินลดการระเหยของน้ํา รณรงคและสงเสริมการปลูกหญาแฝกเพื่อรักษาความชุมชื้นใหกับ

               ดินโดยการปลูกหญาแฝกรอบ ๆ ตนไมผล หรือ รอบแปลงปลูกผัก ในชวงหนาแลงใหตัดใบหญาแฝก เพื่อลด
               การคายน้ํา ลดการใชน้ําของหญาแฝก ใชใบคลุมโคนตนไมและแปลงผัก การฟนฟูและปองกันการชะลาง

               พังทลายของดิน ชวยในการอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่ตนน้ํา ชะลอความเร็วของน้ําทําใหน้ําซึมลงดินเปนน้ําใต
               ดินเพื่อเติมใหกับแหลงน้ําในพื้นที่ตอนลาง ลดปริมาณตะกอนดินที่จะไปสะสมในแหลงน้ําและชวยเพิ่ม

               ประสิทธิภาพการกักเก็บน้ํา
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76