Page 70 - Management_agricultural_drought_2561
P. 70

62



                       6.2.1  การรักษาและฟนฟูพื้นที่ปาไม

                             ความสําคัญของปาไมในการเก็บกักน้ําฝน  น้ําจะอยูตามเรือนยอดไม  ใบไม  กิ่ง  ลําตน
               และไหลลงสูผิวดิน ซึมลึกตามรากไม ชวยใหเกิดการสะสมน้ําในดินและน้ําใตดิน ปาที่มีสภาพความหนาแนน

               ทึบมาก จะชวยใหมีการเก็บกักน้ําไวใชไดมากขึ้นดวย  และชวยชะลอการไหลของน้ําไมใหไหลลงสูที่ต่ําอยาง

               รวดเร็วและรุนแรง (พงศศักดิ์,  2531) ไดเปรียบเทียบอัตราการซึมน้ําผานผิวดิน  และความเร็วของน้ําที่
               แพรกระจายในดิน พบวาพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังมีอัตราการซึมผานผิวดิน 0.69 เซนติเมตรตอนาที พื้นที่ปลูก

               ยางพารามีอัตราการซึมผานผิวดิน 1.46 เซนติเมตรตอนาที และพื้นที่ปาไมมีอัตราการซึมผานผิวดิน 1.50
               เซนติเมตรตอนาที สําหรับความเร็วของน้ําที่แพรกระจายในดินที่ระดับชั้นดินบน พบวาพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง

               มีความเร็ว 26.61 ลูกบาศกเซนติเมตรตอนาที พื้นที่ปลูกยางพารามีความเร็ว 10.08 ลูกบาศกเซนติเมตรตอ
               นาที และพื้นที่ปาไมมีความเร็ว 129.86 ลูกบาศกเซนติเมตรตอนาที ปานอกจากชวยเก็บกักน้ําฝนไวในตนใน

               ชั้นดิน และอากาศเหนือผิวดินที่อยูในรูปของไอน้ําแลว ปาไมที่สมบูรณยังชวยใหมีน้ําไหลในลําธารตลอดทั้งป

                             ดวยเหตุนี้ จึงมีความจําเปนอยางยิ่งในการรักษาสภาพปาและการฟนฟูปาไมใหสมบูรณ โดยมี
               แนวทางและมาตรการ ดังตอไปนี้

                             1)  การกําหนดเขตพื้นที่ปาอนุรักษ เพื่อรักษาไวเปนปาตนน้ําลําธาร หามมีการใชประโยชนดาน

               อื่น พื้นที่ใดที่ถูกบุกรุกตองใหยุติการใชประโยชน และทําการฟนฟูสภาพปาไมใหกลับคืนความสมบูรณของปา
                             2)  ใหประชาชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการปองกันและรักษาปา

                             3)  ประชาสัมพันธใหประชาชนไดตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปน ของการมีพื้นที่
               ปาไม เปนภาพรวมของทั้งประเทศ ใหเห็นประโยชนสวนรวมของลูกหลานในอนาคต มากกวาประโยชนสวน

               ตนและประโยชนเฉพาะหนา
                             4)  ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบตางๆ ใหสอดคลองเหมาะสมกับสภาวะปจจุบัน และใหมีการ

               บังคับใชอยางเขมงวด

                       6.2.2   การสรางแหลงเก็บกักน้ําบนผิวดิน
                             การสรางแหลงเก็บกักน้ํา เพื่อรักษาน้ําไวใชประโยชน เปนแหลงทุนน้ําสํารองในฤดูแลงหรือ

               ในระยะฝนทิ้งชวง แหลงเก็บกักน้ําจะตองคํานึงถึงความเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพทางเศรษฐกิจ

               สังคมและสิ่งแวดลอม ซึ่งมีหลายรูปแบบ เชน
                             1)  การสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญ อางเก็บน้ําขนาดกลาง และอางเก็บน้ําขนาดเล็ก โดยการ

               สรางเขื่อนปดกั้นลําน้ํา ปริมาณน้ําที่เขื่อนสามารถเก็บกักได ขึ้นอยูกับปริมาณน้ําทาที่มีตามสภาพธรรมชาติ
               และความสูงของเขื่อนแตละแหง

                             2)  การสรางฝายทดน้ํา เปนการสรางฝายปดกั้นลําน้ํา เพื่อทดน้ําใหมีระดับสูงขึ้น สามารถ
               ผันน้ําเขาตามคลองหรือคูสงน้ําไปยังพื้นที่เพาะปลูก

                             3)  ขุดลอก คู คลอง หนองบึง ที่ตื้นเขิน ใหสามารถเก็บกักน้ําไดมากขึ้น

                             4)  สรางสระเก็บน้ําในไรนา
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75