Page 11 - Management_agricultural_drought_2561
P. 11

5



               กลางเดือนตุลาคมประเทศไทยตอนบนจะเริ่มมีอากาศเย็นและฝนลดลง  โดยเฉพาะภาคเหนือและภาค
               ตะวันออกเฉียงเหนือ  เวนแตภาคใตยังคงมีฝนชุกตอไปจนถึงเดือนธันวาคมและมักมีฝนหนักถึงหนักมากจน

               กอใหเกิดอุทกภัย โดยเฉพาะภาคใตฝงตะวันออกซึ่งจะมีปริมาณฝนมากกวาภาคใตฝงตะวันตก อยางไรก็ตาม
               การเริ่มตนฤดูฝนอาจจะชาหรือเร็วกวากําหนดไดประมาณ  1  -  2  สัปดาหเกณฑการพิจารณาปริมาณฝนใน
               ระยะเวลา  24  ชั่วโมงของแตละวันตั้งแตเวลา  07.00  น.  ของวันหนึ่งถึงเวลา  07.00  น.ของวันรุงขึ้น  ตาม
               ลักษณะของฝนที่ตกในประเทศที่อยูในเขตรอนยานมรสุมมีดังนี้

                                   ฝนวัดจํานวนไมได ปริมาณฝนนอยกวา 0.1 มิลลิเมตร
                                   ฝนเล็กนอย ปริมาณฝนระหวาง 0.1 - 10.0 มิลลิเมตร
                                   ฝนปานกลาง ปริมาณฝนระหวาง 10.1 - 35.0 มิลลิเมตร
                                   ฝนหนัก ปริมาณฝนระหวาง 35.1 - 90.0 มิลลิเมตร

                                   ฝนหนักมาก ปริมาณฝนตั้งแต 90.1 มิลลิเมตรขึ้นไป
                            3)    ฤดูหนาว     เริ่มตั้งแตกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ   เมื่อมรสุม
               ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยตั้งแตกลางเดือนตุลาคม  ในชวงกลางเดือนตุลาคมนานราว  1-2
               สัปดาห เปนชวงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเปนฤดูหนาว อากาศแปรปรวน ไมแนนอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจ

               ยังมีฝนฟาคะนอง โดยเฉพาะบริเวณภาคกลางตอนลางและภาคตะวันออกลงไปซึ่งจะหมดฝนและเริ่มมีอากาศ
               เย็นชากวาภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือลักษณะอากาศในฤดูหนาวพิจารณาจากอุณหภูมิต่ําสุดของ
               แตละวันโดยมีเกณฑการพิจารณาดังนี้

                                   อากาศหนาวจัด อุณหภูมิต่ํากวา 8.0 องศาเซลเซียส
                                   อากาศหนาว อุณหภูมิระหวาง 8.0 องศาเซลเซียส - 15.9 องศาเซลเซียส
                                   อากาศเย็น อุณหภูมิระหวาง 16.0 องศาเซลเซียส - 22.9 องศาเซลเซียส





































               ภาพที่ 2.2 ตําแหนงรองความกดอากาศต่ํา ทิศทางลมมรสุมและทางเดินพายุหมุนเขตรอน
               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2553ก)
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16