Page 8 - Management_agricultural_drought_2561
P. 8

2



               1.4  ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน
                        1.4.1  การศึกษา รวบรวม และวิเคราะหขอมูลในดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับภัยแลง ทั้งขอมูลเอกสาร

               ขอมูลเชิงพื้นที่ และผลการดําเนินงานของหนวยงาน  ไดแก
                              1)  แผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1: 50,000  กรมแผนที่ทหาร
                              2)  สภาพภูมิอากาศ ไดแก ขอมูลปริมาณฝนเฉลี่ย 30 ป ตั้งแตป 2531 – 2560 ขอมูลปริมาณ
               น้ําฝนรายวัน และ จํานวนวันฝนตก ป  2560  กรมอุตุนิยมวิทยา

                              3)  อุทกวิทยา ไดแก ขอมูลแหลงน้ําผิวดิน กรมพัฒนาที่ดิน และ แหลงน้ําใตดิน
               กรมทรัพยากรน้ําบาดาล
                              4)  ขอมูลดิน ป 2556 มาตราสวน 1: 25,000  กรมพัฒนาที่ดิน
                              5)  สภาพการใชที่ดิน ป 2558 – 2559 มาตราสวน 1 : 25,000  กรมพัฒนาที่ดิน

                              6)  ความลาดชันของพื้นที่ คํานวณจากขอมูลความสูงเชิงเลข ของประเทศไทย ที่มีความละเอียด
               5 เมตร กรมพัฒนาที่ดิน
                              7)  แผนที่พื้นที่ชลประทาน ป 2557 มาตราสวน 1 : 50,000  กรมชลประทาน
                              8)  ขอมูลขอบเขตการปกครอง ป 2556  มาตราสวน 1: 50,000  กรมการปกครอง

                              9)  แผนที่ขอบเขตลุมน้ํา มาตราสวน 1 : 50,000  กรมทรัพยากรน้ํา
                             10)  ภาพถายดาวเทียม TERRA ระบบ MODIS (Land Surface Temperature :resolution 1
               km.)  ที่อยูในรูปเชิงเลข ถายครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยทุก 8 วัน ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2550 – กันยายน 2559

               จาก United state for geology survey (USGS)
                             11)  ภาพถายดาวเทียม TERRA ระบบ MODIS (resolution 250 m.)  band 1 (Red) และ band
               2 (NIR) ที่อยูในรูปเชิงเลข ถายครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยทุก 16 วัน ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2550 – กันยายน
               2559 จาก United state for geology survey (USGS)
                        1.4.2  นําเขาขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ArcView , ArcGIS  ENVI ใหอยูในรูป  Digital data

                        1.4.3  การจัดทําขอมูลเชิงพื้นที่ เพื่อแสดงขอมูลดานพื้นที่แลงซ้ําซาก และพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดภัยแลง
                        1.4.4  ตรวจสอบผลการวิเคราะหพื้นที่ประสบความแหงแลงในพื้นที่ทําการเกษตร ในภาคสนาม
                        1.4.5  ปรับแกไขพื้นที่ประสบความแหงแลงในพื้นที่ทําการเกษตรใหถูกตอง

                        1.4.6  จัดทํารายงาน และเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ทําการเกษตรเสี่ยงภัยแลง เพื่อ
               ปองกันบรรเทาผลกระทบ การเตรียมความพรอม และการฟนฟูพื้นที่เกษตรกรรม ตลอดจนใหเกิดการใชที่ดิน
               ที่เหมาะสมทั้งในดานการอนุรักษและการพัฒนา
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13