Page 16 - Management_agricultural_drought_2561
P. 16

10



                        ภูมิประเทศมีลักษณะเปนเทือกเขาสลับกับที่ราบระหวางเขาหรือที่ราบชายฝงทะเล มีทะเลขนาบทั้ง
               2 ดาน คือ ดานฝงทะเลตะวันออกติดอาวไทยและฝงทะเลตะวันตกติดทะเลอันดามัน สภาพพื้นที่เปนที่ราบ มี

               ความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางนอยกวา 13 เมตร พื้นที่ทางฝงตะวันตกของภาคสูงกวาทางฝงตะวันออก
               มีเทือกเขาที่สําคัญ  ไดแก  เทือกเขาตะนาวศรีอยูทางดานฝงทะเลตะวันตกทอดในแนวเหนือ-ใตขนานกับฝง
               ทะเลกั้นพรมแดนระหวางไทยกับสหภาพพมา เทือกเขาภูเก็ตทอดยาวตอจากเทือกเขาตะนาวศรีเรื่อยไปจนถึง
               เกาะภูเก็ต  ทางตอนกลางของภาคมีเทือกเขานครศรีธรรมราชทอดในแนวเหนือ-ใต  ทางดานใตของภาคมี

               เทือกเขาสันกาลาคีรีเปนแนวกั้นพรมแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย ฝงทะเลทั้งสอง
               ดานนี้มีเกาะจํานวนมาก โดยฝงทะเลดานตะวันออกมีเกาะที่สําคัญๆ  คือ  เกาะสมุย  เกาะพงัน  และเกาะเตา
               เปนตน  สวนทางฝงทะเลดานตะวันตก  มีเกาะภูเก็ตซึ่งนับวาสําคัญและใหญที่สุดของประเทศ  เกาะตะรุเตา
               เกาะลันตา และเกาะลิบง เปนตน


               2.4  ทรัพยากรดิน

                        ทรัพยากรดินและที่ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญประเภทหนึ่งซึ่งเปนปจจัยที่จําเปนใน
               การดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แตทรัพยากรดินเปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เสื่อมโทรมไดงาย และมี
               ความแปรผันไปตามลักษณะพื้นที่ สภาพภูมิอากาศ  วัตถุตนกําเนิดดิน  สิ่งมีชีวิต  และระยะเวลาในการ

               พัฒนาการเกิดของดิน  ทําใหที่ดินในแตละแหงมีความเหมาะสมตอการใชประโยชนที่แตกตางกัน  ดังนั้นเพื่อ
               ความเขาใจตอทรัพยากรดิน และที่ดินไดงายขึ้น  กรมพัฒนาที่ดินจึงไดจัดทําแผนที่กลุมชุดดินระดับจังหวัด
               ขนาดมาตราสวน 1 : 50,000 ขึ้นมาทั่วประเทศ ซึ่งเปนการรวมลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินที่มีศักยภาพ
               ในการใชประโยชนที่ดินคลายคลึงกันมารวมอยูดวยกัน สามารถจําแนกออกได 62 กลุมชุดดิน นอกจากนี้ยังได

               แบงกลุมชุดดินออกเปนกลุมชุดดินยอย  โดยใชลักษณะและสมบัติตางๆ  ของดินหรือสภาพแวดลอมที่เปน
               ขอจํากัดหรือมีผลกระทบตอการใชประโยชนที่ดิน การเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช
                        ลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินที่นํามาใชแบงกลุมชุดดิน ไดแก ความชื้นในดิน เนื้อดิน ปฏิกิริยาดิน

               การระบายน้ําของดิน ความลึกของดินถึงชั้นที่มีกอนกรวด เศษหินมาก ชั้นปูนหรือมารล และชั้นหินพื้น วัตถุ
               กําเนิดดิน การใชประโยชนที่ดิน และความลาดชันของพื้นที่ เปนตน สวนลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินหรือ
               สภาพแวดลอมที่นํามาใชแบงกลุมชุดดินออกเปนกลุมชุดดินยอย ไดแก ชั้นความลาดชันของพื้นที่ สภาพการใช
               ประโยชนที่ดิน อันตรายจากการถูกน้ําทวม ความเปนกรดจัดรุนแรงของดิน การมีคราบเกลือปรากฏอยูบนผิว
               ดิน และลักษณะอื่นๆ ที่คาดวามีผลตอการใชประโยชนที่ดิน

                        การจัดหมวดหมูลักษณะและสมบัติดินที่มีศักยภาพคลายคลึงกันในดานที่มีผลตอการเจริญเติบโต
               และใหผลผลิตของพืชที่ปลูก จัดหมวดหมูได 62 กลุมชุดดิน โดยแบงตามสภาพพื้นที่ที่พบไดเปน 4 กลุม
               ใหญ ดังนี้ (ภาพที่ 2.3, ตารางที่ 2.4 )

                        2.4.1  กลุมชุดดินในพื้นที่ลุมหรือพื้นที่น้ําขัง
                            เปนกลุมชุดดินที่มีน้ําแชขังหรือมีระดับน้ําใตดินตื้น ทําใหดินมีการระบายน้ําเลวมากถึงคอนขาง
               เลว พบทุกภาคมีอยู 28 กลุมชุดดิน ไดแก กลุมชุดดินที่ 1 – 25 และกลุมชุดดินที่ 57 – 59
                        2.4.2  กลุมชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยูในเขตดินแหง

                            เปนกลุมชุดดินที่ไมมีน้ําแชขังและมีระดับน้ําใตดินลึก  ทําใหมีการระบายน้ําคอนขางดีถึง
               คอนขางดีมาก พบใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง มีอยู 22 กลุมชุดดิน ไดแก กลุมชุด
               ดินที่ 28 29 30 31 33 35 36 37 38 40 41 44 46 47 48 49 52 54 55 56 60 และ 61
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21