Page 36 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 36

27





                                                       ิ
                                                                                   ่
                                                                
                                                                                   ิ
                   ั
               จำกดของทรัพยากรเขามาเกี่ยวของ ซึ่งโดยปกตแลวความตองการทรัพยากรจะเพมขึ้น ตามจำนวนประชากรและ
                                                         
               ความตองการบริโภคเพมขึ้น ซงความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคมจะเกดขึ้นจนกวาการเพมขึ้น
                                           ึ่
                                                                                                 
                                     ิ่
                      
                                                                                                         ิ่
                                                                                       ิ
                                    
               ของประชากรและความตองการบริโภคจะปรับตัวเขาหากันจนเกิดความสมดล
                                                                             ุ

               3.3   ระดับความรุนแรงของความแหงแลง
                                               
                                                                   
                     ความรุนแรงของความแหงแลงมีความสมพนธสอดคลองกบสภาวะฝนแลงหรือความแหงแลงของลมฟา
                                                                                                            
                                              
                                                       ั
                                                          ั
                                                            
                                                                      ั
                       ่
                       ึ
                                                                               ิ
                                                            
                                                                                                        ุ
                                                                                                     ั
                          ิ
                                                                                                   ื
                                   ี
               อากาศ ซงเกดจากการมฝนตกนอยกวาปกติหรือฝนไมตกตามฤดูกาลทำใหเกดการขาดแคลนน้ำใช พชพนธตาง ๆ
                                                                                                        
                                       
                                                              
                                                                                            ิ
               ขาดน้ำหลอเลี้ยง ขาดความชุมชื้น ทำใหพืชผลไมสมบูรณหรือเจริญเติบโตใหผลตามปกติแตเกดความเสียหายระดบ
                                                                                                           ั
                                        ั
               ความรุนแรงแบงไดเปน 3 ระดบ (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2560) คือ
                               
                                                                                     ี
                                                           ิ
                                                           ้
                     3.3.1 ความแหงแลงอยางเบาหรือชวงฝนทง เปนสภาวะความแหงแลงท่มีฝนตกเฉล่ยไมถึงวันละ 1
                                                                                                ี
                                 
                                                                                ิ
               มิลลิเมตร เปนเวลาตอเนื่องกันถึง 15 วันในชวงฤดูฝนความแหงแลงแบบนี้เกดขึนตามภาคตางๆ ในประเทศไทย
                                                                                  ้
               เสมอในตอนตนฤดูฝนระหวางเดอนมิถุนายนและกรกฎาคม
                                         ื
                                                                                    ี
                                                                                                         ิ
                     3.3.2 ความแหงแลงปานกลางหรือความแหงแลงชั่วระยะ เปนชวงฝนแลงที่มฝนตกในฤดฝนเฉลี่ยไมเกนวัน
                                                                                              ู
                                                             
               ละ 0.25 มิลลิเมตร เปนเวลานานตอเนื่องกันไมนอยกวา 29 วัน ความแหงแลงแบบนี้เกิดขึ้นถึงขั้นขาดแคลนน้ำมี
                                            
                                                                                                         ้
               ผลกระทบตอการเกษตรกรรม ความเปนอยูของประชาชน และเศรษฐกจของประเทศ แตไมคอยไดเกิดขึนใน
                                                                             ิ
                                                                                             
               ประเทศไทยบอยนัก
                                                                                             ี
                     3.3.3 ความแหงแลงอยางรุนแรงหรือความแหงแลงสัมบูรณ เปนความแหงแลงท่ฝนไมตกในฤดูฝน
                                      
                                                                          
                                                          
                                                                                   ิ
                       ั
                           
                                                               ั
                                                                   ่
               ตอเนื่องกนไมนอยกวา 15 วัน หรืออาจมีตกบางแตไมมีวนใดทมีฝนตกถึง 0.25 มลลิเมตร นับเปนภัยธรรมชาติท ี่
                                 
                                                                   ี
                                                                                       
                      ่
                                        
               รุนแรงทสุดมีพืชพรรณตาง ๆ ลมตายเรื่อย ๆ ทำใหไมมีผลผลิต สภาวะแหงแลงแบบนี้ยังไมเคยปรากฏในประเทศไทย
                      ี

                                ิ
                              ่
                              ี
               3.4   ชวงเวลาทเกดความแหงแลงในประเทศไทย
                                                                                             ่
                     ความแหงแลงในประเทศไทยจะเกดใน 2 ชวง ชวงแรกเปนชวงฤดหนาวถึงฤดูรอนเริมจากเดือนตุลาคม
                                                  ิ
                                                                             ู
               จนถึงเดอนพฤษภาคม ซึ่งจะเกิดความแหงแลงเปนประจำทกป และชวงทสองคอชวงกลางฤดูฝนเดือนมิถุนายนถึง
                                                                                 ื
                                                                            ี่
                      ื
                                                                ุ
                                                                                                       ื
                                                                                        ้
                                                                                                         ี
                                           ิ
                                ี
               เดอนกรกฎาคมจะมฝนทิ้งชวงเกดขึ้น และจะเกิดเฉพาะทองถิ่นหรือบางบริเวณบางครังอาจครอบคลุมพ้นท่เปน
                 ื
                                             
                           ่
                                                                   ี
               บริเวณกวางทัวประเทศความแหงแลงในประเทศไทยสวนใหญมผลกระทบตอการเกษตรโดยเฉพาะเดือนกรกฎาคม
               พื้นททไดรับผลกระทบจากภัยแลงมาก ไดแก บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเพราะเปนบริเวณ
                     ี่
                    ี่
                                   ั
                                                                   
                 ่
                                             
               ทีอิทธิพลของมรสุมตะวนตกเฉียงใตเขาไปไมถึง และถาปใดไมมีพายุหมุนเขตรอนเคลื่อนผานในแนวดังกลาวแลว
                                                                            ่
                                                                         ื่
                                                                   ี
                                                                                                         
               จะกอใหเกิดความแหงแลงรุนแรงมากขึ้น นอกจากนี้แลวยังมพื้นทอนทีมักประสบกับปญหาความแหงแลงเปน
                                                                        ี่
                                     
               ประจำ ฝนทิ้งชวงหมายถึงชวงที่มีปริมาณฝนตกไมถึงวันละ 1 มิลลิเมตร ติดตอกันเกิน 15 วัน ในชวงฤดูฝนสำหรับ
               เดือนที่มโอกาสเกดฝนทิ้งชวงสูงสุดคอเดือนมิถุนายนและเดอนกรกฎาคม ฝนแลงดานอตนิยมวทยา หมายถึง สภาวะทม ี
                                                                                         ิ
                                                                                                            ่
                                                                                                            ี
                                                                             
                                                                               
                                                              ื
                                            ื
                                                                                   ุ
                                                                                    ุ
                             ิ
                      ี
                                                                                                     
                                               ึ
                                               ่
               ฝนนอยหรือไมมีฝนเลยในชวงเวลาหนึ่ง  ซงตามปกติควรจะตองมีฝนโดยขึ้นอยูกับสถานที่  และฤดูกาล  ณ ที่นั้นดวย
                                               ั
                     ความแหงแลงจะเกิดขึนเปนลำดบ โดยเริ่มจากความแหงแลงเชิงอตุนิยมวทยา ความแหงแลงเชิงเกษตรกรรม
                                       ้
                                                                     
                                                                          ุ
                                                                                 ิ
                                                                               ั
               ความแหงแลงเชิงอุทกวทยา และความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคม ตามลำดบ โดยหลังจากเกิดเหตุการณฝนทิ้งชวง
                                                   
                                 ิ
                                                                 
                                                     ่
               การเกษตรไดรับผลกระทบเปนอันดับแรก เนืองจากความชุมชื้นของดินจะลดลงอยางรวดเร็ว และหากยังคงไมม  ี
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41