Page 38 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 38

29





               มีความสำคัญต่ำสุด  คือสัมประสิทธิ์การใชน้ำของพืช  ผลการศึกษาพบวา  จังหวัดเชียงใหมและจังหวัดลำปางม ี
                                                                                     ั
                                                                             ี่
               คาเฉลี่ยของคาความเสี่ยงแหงแลงคอนขางสูง เนื่องจากพื้นที่อื่น ๆ เปนพื้นทดอนอาศยน้ำฝนและมีการทำประโยชน
                    
               ทางดานการเกษตรที่หลากหลาย
                     วิวัฒน  และคณะ  (2553)     ไดทำการศกษาการประเมนผลกระทบในพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาต  ิ
                                                         ึ
                                                   
                                                                   ิ
                                       ั
               ลุมน้ำแควใหญตอนลางจังหวดกาญจนบุรีประเทศไทย  พบวาพื้นที่ศึกษามีการใชที่ดินแบงเปน  11  ประเภท  ไดแก
               นาขาว  พืชไร  ไมยืนตน  ปาไมผลัดใบ  ปาผลัดใบ  ทุงหญาและไมละเมาะ  พื้นที่ลุม  เหมืองแรและบอขุด  แหลงน้ำ
               ธรรมชาต  แหลงน้ำที่สรางขึ้น  ชุมชนและ  สิ่งปลูกสราง  โดยสวนใหญเปนพื้นที่ปาไมผลัดใบ  2,354.43  ตาราง
                       ิ
                                                                                        ิ
                                                                              ั
                                                                 ิ
               กิโลเมตร  คิดเปนรอยละ  68.90  ของพื้นทศึกษา  มีพื้นที่เกด  การชะลางพงทลายของดนในระดับรุนแรงมากและ
                                                    ี่
               รุนแรง  22.21  ตารางกิโลเมตรและ  52.31  ตารางกโลเมตรคิดเปนรอยละ  0.64  และ  1.53  ของพื้นที่ศึกษา
                                                             ิ
                                                                        ิ
               ตามลำดับ  พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดดินถลมในระดับสูง  58.23  ตารางกโลเมตรคิดเปนรอยละ  1.70  ของพื้นทีศึกษา
                                                                                                        ่
                         
               พืนทีเสี่ยงตอการเกิดอทกภัยในระดบสูง  528.03  ตารางกโลเมตรคิดเปนรอยละ  15.45  ของพื้นที่ศึกษา  พืนที่เสี่ยง
                   ่
                                 ุ
                                            ั
                                                                                                      ้
                                                               ิ
                 ้
               ตอ  การเกิดภัยแลงในระดับสูง  59.72 ตารางกโลเมตรคิดเปนรอยละ 1.74 ของพื้นที่ศึกษา และมีพื้นที่เสี่ยงตอการ
                                                      ิ
                               
                                                                                         ้
                                       ั
                                                          ิ
                                                                                           ่
               เกิดภัยพิบัติ  ซ้ำซอนในระดบสูง  79.67  ตารางกโลเมตรคิดเปนรอยละ  2.33  ของพืนทีศึกษา  โดยสวนใหญ
                                      ิ
               ถูกจัดเปนพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัตซ้ำซอนในระดับปานกลาง  2,297.71  ตารางกโลเมตร  คิดเปนรอยละ 67.24 ของพื้นท ี่
                                                                            ิ
               ศึกษา  พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติซ้ำซอนระดับสูงในพื้นที่พืชไร  ไมยืนตน  และปาผลัดใบ  เปนพื้นที่  68.85
               8.36 และ 0.92 ตารางกิโลเมตร ตามลำดับ
                     สุระ และอุษาวด (2550) ศึกษาเพื่อการประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยจากการเกิดภัยแลงของจังหวัดนาน  โดยระบบ
                                  ี
                                            ิ
               สารสนเทศภูมิศาสตร  ดวยวิธีการวเคราะหศักยภาพเชิงพื้นที่  (Potential Surface Analysis :  PSA)  โดยอาศัย
                                                  ื
                                                    ่
                                                  ้
                                                           
                              ึ
                  ั
               หลกการจากการศกษาวจัย  เพือกำหนดพนทีที่เสี่ยงตอการเกิดอุทกภัย  และภัยธรรมชาติในเขตลุมน้ำภาคเหนือของ
                                   ิ
                                         ่
               สำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม  (2541)  ซึ่งกำหนดตัวแปรและปจจัย  (Parameter)  คาคะแนนถวงน้ำหนัก
               ความสำคัญ  (Weighting)  และระดบของประเภทขอมลที่ใชในการศึกษาเพอกำหนดพื้นที่เสี่ยงภัยแลงในจังหวัดนาน
                                             ั
                                                            ู
                                                                            ื
                                                                            ่
               โดยมีปจจัยหลักใชในการศกษาดังนี้ปริมาณน้ำฝนรายปจำนวนวันที่ฝนตก เขตชลประทานและแหลงน้ำ  แหลงน้ำใตดิน
                                     ึ
               พืชปกคลุมดิน  เนื้อดิน ความลาดชัน ความหนาแนนของลำน้ำในลุมน้ำยอย และขนาดของพื้นที่ลุมน้ำยอย กำหนด
               คาถวงน้ำหนัก (Weighting) ของแตละตัวแปรขางตนและคาระดบคะแนน (Rating) ประเภทขอมูลของแตละตัวแปร
                                                                    ั
                                                                                                ั
               ดวยวิธีการจัดลำดับความสำคัญ (Prioritized Weighting and Rating Scale) การวเคราะหจำแนกระดบความเสี่ยงตอ
                                                                                                           
                                                                                 ิ
               การเกิดแผนดินถลม ภัยแลง และน้ำทวม ออกเปน 4 ระดับ คือ ไมเสี่ยงภัย เสี่ยงภัยระดับต่ำ เสี่ยงภัยระดับปานกลาง
               และเสี่ยงภัยระดับสูง ผลการศึกษา พบวา จังหวัดนานสวนใหญพื้นที่ที่เสี่ยงภัยแลงระดับรุนแรง พบวาอยูในเขตอำเภอ
               นานอย อำเภอนาหมน  และอำเภอเวยงสา
                                             ี
                                ื
                                ่
                                                              ิ
                                              ึ
                                                   ่
                     สุรีรัตน  และคณะ  (2552)  ศกษาเรืองการประเมนพื้นที่เสี่ยงภัยแลง  จังหวัดตาก  ประเทศไทย  ตามความ
               แปรผันของดัชนี โดยใชระบบภูมิสารสนเทศ โดยนำเสนอการประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรและแบบจำลองเชิง
                                                                                                   ิ
                                                                                                       ั
               พื้นที่ เพื่อจำแนกพื้นที่เสี่ยงภัยแลงบริเวณจังหวัดตาก โดยวิธีการวิเคราะหศักยภาพเชิงพื้นที่ การประเมนระดบความ
                                              ิ
               แหงแลงทางอุตุนิยมวิทยา  การประเมนระดบความแหงแลงทางอุทกวิทยา  และการประเมินระดับความแหงแลงทาง
                                                   ั
               พืชพรรณ  โดยวิธีการวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่  เปนการประยุกตใชระบบภูมิสารสนเทศรวมกับหลักการวิเคราะห
                                                                                                            ั
                                                                                        ิ
               ศักยภาพของพื้นที่ และวิธีการซอนทับขอมูล เพื่อวิเคราะหและประเมินความเสี่ยงตอการเกดภัยแลงในบริเวณจังหวด
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43