Page 37 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 37
28
ี
้
ุ
ื่
่
่
ฝนตก แหลงน้ำอน ๆ จะเริมลดระดับลง และเมือมีฝนตกลงมาอกครังความแหงแลงทางอตุนิยมวิทยาจะเริ่มหมด
ไป ความชุมชื้นในดินจะเพิ่มขึ้นกอนเปนอันดับแรก จากนั้นระดับน้ำเก็บกักผิวดินและใตดินจะเริ่มสงขึ้น ความแหง
ู
แลงเชิงเกษตรกรรมจะหมดไปอยางรวดเร็วเพราะขึ้นอยูกับสภาพความชุมชื้นในดินเปนหลัก
3.5 งานวิจัยทีเกี่ยวของ
่
กรรณิกา และนพกร (2557) ไดศึกษาการวเคราะหความเสี่ยงตอความแหงแลงในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร
ิ
โดยกำหนดปจจัยหลักที่เกี่ยวของกับความแหงแลง โดยการประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) เพื่อวิเคราะห
ความเสี่ยงตอความแหงแลงไดกำหนดปจจัยที่ใชทั้งหมด 4 ปจจัย เปนปจจัยหลักโดยปจจัยที่มีความสำคัญและคาดวา
นาจะมีผลตอการเกิดความแหงแลงมากที่สุดในพื้นที่ ประกอบดวย ปริมาณน้ำฝน ระยะหางแหลงน้ำ และการหา
ิ
ั
ความสมพันธระหวางใชประโยชนที่ดิน และคาดัชนีพืชพรร ทำการวเคราะหขอมูลความเสี่ยงตอความแหงแลงใน
ั
่
้
พืนทีจังหวดกำแพงเพชร โดยการซอนทับขอมูล (Map Overlay) จากแผนที่ที่จัดทำขึ้นนำมาวเคราะหเพื่อจัดแบงระดับ
ิ
ความเสี่ยงพื้นทการเกิดภัยแลง โดยใชคาคะแนนความสำคัญของปจจัยหลักที่กำหนดไว ผลการศึกษาปจจัยที่มีอทธพล
ิ
ี่
ิ
้
ตอความเสี่ยงตอความแหงแลง ในพืนที่ศึกษาพบวาปจจัยที่มีอิทธิพลตอความเสี่ยงในการเกิดความแหงแลงในจังหวัด
กำแพงเพชรจึงมีความสัมพันธที่เกี่ยวของกับปริมาณน้ำฝน และระยะหางของแหลงน้ำ และผลการศึกษาความเสี่ยงตอ
่
ความแหงแลงของพื้นที่ที่ศึกษาพบวา พื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอความแหงแลงมากที่สุดคิดเปนพืนที 922,094 ไร หรือ
้
ี่
พื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอความแหงแลงมาก คิดเปนพื้นท 1,820,047 ไร พื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอความแหงแลงปานกลาง
ี่
ี่
คิดเปนพื้นท 464,677 ไร พื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอความแหงแลงนอย คิดเปนพื้นท 251,139 ไร สวนที่เหลือเปนพื้นททม ี
ี่
ี่
ื้
่
ความเสี่ยงตอความแหงแลงนอยที่สุด คิดเปนพนที 36,375 ไร
่
ิ
ชาญชัย และ วรวีรุกรณ (2520) ศกษาเรืองการประเมนความเสี่ยงทางกายภาพเชิงพื้นท เพื่อหาพื้นที่เสี่ยง
ี่
ึ
ตอความแหงแลงในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม ลำพูน ลำปาง และพะเยา ซึ่งมีองคประกอบหลักดานกายภาพของพื้นที่
3 องคประกอบดวยกันคือ การประเมินสภาพภูมิอากาศ การประเมินการใชที่ดิน และการประเมินสภาพดิน
ที่เปนอยูในพืนทีตอการกักเก็บน้ำ การศกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาแนวทางในการประเมินความเสี่ยงตอ
้
่
ึ
สภาวะความแหงแลง โดยเนนถึงการนำขอมูลปริมาณน้ำฝนรายวัน ตลอดจนลักษณะการกระจายตัวของ
สภาพภูมประเทศ และแหลงน้ำในพื้นที่มาวิเคราะหรวมกัน เพอประเมนคาความเสี่ยงทางกายภาพเชิงพื้นที่ดวย
ิ
ิ
ื่
ระบบภูมิสารสนเทศปจจัยทั้งหมดจำเปนตองมีการปรับคามาตรฐานของปจจัย ดวยวิธีการ Fuzzy membership
ี่
function ขอมูลที่ไดจากการปรับคามาตรฐานจะมีคาอยูระหวาง 0 - 1 โดยคา 0 หมายถึงพื้นท ที่มีปจจัยที่ม ี
ผลตอความเสี่ยงตอสภาวะแหงแลงนอยที่สุด ขณะที่คา 1 หมายถึง พื้นที่ที่มีปจจัยที่มีผลตอความเสี่ยงตอสภาวะ
แหงแลงมากที่สุด ปจจัยที่ผานการปรับคามาตรฐานแลวจะถูกนำมาวิเคราะหเชิงซอนทับรวมกันโดยผานวิธการ
ี
หาสมการเชิงเสนถวงน้ำหนัก (Weighted Linear Combination) โดยมีการกำหนดคาถวงน้ำหนักของ แตละปจจัยดวย
ั
่
ื
วิธการของ Malczewski เพอกำหนดระดับความสำคัญของปจจัยในการประเมินโดยวิธีการจัดลำดบ (Ranking) จากการ
ี
ิ
เรียงลำดับความสำคัญของปจจัยตาง ๆ ที่ใชในการประเมน ซึงพบวาปริมาณน้ำฝนเปนปจจัยทมีผลกระทบตอการเกด
ิ
ี่
่
สภาวะแหงแลงของพื้นที่มากที่สุด รองลงมาเปนปจจัยที่มีความสัมพันธโดยตรงกบปริมาณน้ำฝนที่ตกในพื้นท คือ
ั
ี่
คาดัชนีความเปยกของพื้นที่ และความจุความชื้นที่เปนประโยชนของดิน ปจจัยทางกายภาพ เชน ระยะหางจาก
ั
ี
แหลงน้ำผิวดิน และความหนาแนนของทางน้ำ มผลกระทบตอระดบความแหงแลงของพื้นที่พอสมควร สวนปจจัยที ่