Page 32 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 32

23





                                                            
                       ่
                       ี
                                                                                            ี
               แมน้ำทมีกิจกรรมการเพาะปลูกตามแน วริมฝงแมน้ำ สวนใหญ ไดแก แมน้ำท่ไหลออกอาวไทย
                                                                                                           
                    ิ
                                                     
                                                                                             
                                                                                         
               ดานทศใตของพื้นที่ลุมน้ำ เชน แมน้ำระยอง แมน้ำประแสร แมน้ำจันทบุรี และแมน้ำตราด สวนแมน้ำทไหลออกอาว
                                                                                                  ่
                                                                 
                                                                                                  ี
                                                        ั
               ไทยทางดานทิศตะวันตกบริเวณอาวบางแสน อาวพทยา เชน คลองนาเกลือ และคลองบางละมุง ปจจุบันมีกิจกรรมการ
                                                    
               เพาะปลูกไมมากนัก เพราะพนที่สวนใหญไดถูกพัฒนาเปนชุมชนเมืองและโรงงานอุตสาหกรรม และไมมีการนําน้ำใน
                                       ื้
               คลองมาใชประโยชน เนื่องจากคุณภาพน้ำคอนขางเสื่อมโทรมดังนั้น ปญหาน้ำเค็มรุกล้ำจึงมีนอย

               2.6 ทรัพยากรปาไม
                             
                           ั
                    ภาคตะวนออกสวนใหญเปนปาดงดิบ ปาดบเขา ปาสนเขา ปาชายเลน และปาเบญจพรรณ ในป พ.ศ. 2561
                                                      ิ
               มีพื้นที่ปาไม 4.82 ลานไร คิดเปนรอยละ 22.47 ของพื้นที่ภาค โดยจังหวดที่มีพื้นที่ปามากที่สุด คือ ปราจีนบุรี สวน
                                                                           ั
                        ี
               จังหวัดที่มพืนที่ปานอยที่สุดคือ  จังหวัดชลบุรี
                         ้

               2.7 สภาพการใชที่ดิน
                                         ื้
                                            ี่
                      สภาพการใชที่ดินในบริเวณพนทภาคตะวนออก  แยกรายละเอยดเปนแตละกลุม  มีดังนี้
                                                  ั
                                                                  ี
                          ี่
                                               ั
                                         ิ
                      กลุมท 1: สภาพการใชทีดนเปนหลก
                                        ่
                              การใชประโยชนที่ดินหลัก   สามารถเรียงลําดับประเภทการใชที่ดินจากที่มีพื้นที่มากสุดไปยังพนทนอยสุด
                                                                                                     ื้
                                                                                                       ี
                                                                                                       ่
                                                                                 ้
                                         ั
                   ิ
                                                                                   ี
                                               ้
                                                                                   ่
                                                                                       
               โดยคดเปนรอยละของพื้นทภาคตะวนออกทังหมดไดดังนี้  พื้นที่เกษตรกรรม  61.35  พืนทปาไม  22.47  พื้นที่ชุมชนและสิ่ง
                                   ี่
               ปลูกสราง 9.44 พื้นทีอืน ๆ 3.60 และพื้นที่แหลงน้ำ  3.14
                                ่
                                 ่
                                               ี่
                               พื้นที่การใชประโยชนทดินเปนหลัก  แบงออกเปน  5 ประเภท:
                                              ่
                                              ี
                                                                                                       ี
                                                                       ่
                               ประเภทที่  1:  พืนทชุมชนและสิ่งปลูกสราง  เชน  ทีอยูอาศัย  ตัวเมืองและยานการคา  สถานทราชการ
                                                                                               
                                                                                                       ่
                                            ้
               และเขตอุตสาหกรรม
                               ประเภทที่ 2: พื้นทเกษตรกรรม  เชน นาขาว พชไร ไมยืนตน ไมผล
                                             ี่
                                                                 ื
                                                 
                                             ่
                                             ี
                                          ื้
                               ประเภทที่ 3: พนทปาไม
                               ประเภทที่ 4: พื้นที่แหลงน้ำ เชน ทางน้ำ หนองน้ำ อางเกบน้ำ
                                                                         ็
                                          ื
                                          ้
                                     ่
                                             ่
                              ประเภทที 5 : พนทเบ็ดเตล็ด
                                             ี
                                               ิ
                     กลุมที่ 2: พื้นที่การใชประโยชนที่ดนดานเกษตรกรรม
                              การใชประโยชนทดินเฉพาะในดานเกษตรกรรม   สามารถเรียงลาดบชนิดของการใชประโยชนที่ดินจากที่ม ี
                                                                                 ั
                                                                              ํ
                                           ี่
                                                     
               พืนที่มากสุดไปยังที่มีพื้นที่นอยสุด  โดยคิดเปนรอยละของพื้นทเกษตรกรรมทงหมด  ไดดังนี้  ไมยืนตน  24.04  พืชไร  13.00
                 ้
                                                                        ั
                                                                               
                                                              ี่
                                                                        ้
                                                                 ั
                            
                                                   ื
                                                   ่
               นาขาว 10.93 ไมผล 8.81 และการเกษตรดานอน  ๆ 4.57 ตามลำดบ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37