Page 30 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 30
21
ดอน จนถึงลาดเนินเขา เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ำดี เนื้อดินตอนบน ชวง 50 เซนติเมตร เปนดินรวน
หรือดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินปนเศษหิน มักพบชั้นหินพื้นลึกกวา 100 เซนติเมตร สีดินเปนสีน้ำตาล
่
เหลือง หรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตำ pH ประมาณ 5.0 - 6.0
กลุมชุดดินที่ 59
ิ
ิ
่
ลักษณะดน : พบบริเวณที่ราบลุมหรือ พื้นลางของเนิน หรือหุบเขา เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด ทีเกด
ั
จากตะกอนลำน้ำพัดพามาทบถมกน ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว มลักษณะและคณสมบัต ิ
ุ
ั
ี
ี
ตาง ๆ ไมแนนอน ขึ้นอยูกับชนิดของวตถุตนกำเนิดดินบริเวณนั้น ๆ สวนมากมกอนกรวด และเศษหินปนอยูในเนื้อดินดวย
ั
กลุมชุดดินที่ 60
ี
ื
ลักษณะดิน : พบบริเวณสันดินริมน้ำ บริเวณพ้นทเนินตะกอน เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด ท ่ ี
่
ิ
ิ
เกดจากตะกอนลำน้ำพัดพามาทับถมกัน ดินทพบสวนใหญมีการระบายน้ำดถึงดีปานกลาง เปนดินลึก เนือดนเปน
ี่
ี
้
ิ
ิ
พวกดนรวน บางแหงมีชั้นดินที่มีเนื้อดินคอนขางเปนทราย หรือมีชั้นกรวด ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอนตางยุคของดน
่
ั
อน เปนผลมาจากการเกิดน้ำทวมใหญใน อดีต โดยท่วไปเปนดินทมีความอดมสมบูรณปานกลาง
ี
ุ
ั
pH ประมาณ 6.0 - 7.0
กลุมชุดดินที่ 61
ึ่
ลักษณะดน : ดินนี้มีการผสมของดินหลายชนิด ซงเกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตนกำเนิดชนิดตาง ๆ แลว
ิ
ี่
ถูกพัดพามาทบถมบริเวณทลาดเชิงเขา เหมาะสมที่จะคงเปนธรรมชาติ มีบางแหงทำไรเลื่อนลอย มีสภาพพนที่เปน
ั
ื้
็
ลูกคลื่นลอนลาดถึงลอนชัน มีความลาดชันประมาณ 6 - 20 เปอรเซนต ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำดี ถึงปาน
ั
ั
ุ
กลาง มีลักษณะและคณสมบัติแตกตางกนไปตามวตถุตนกำเนิดดิน เชน เนื้อดิน สีดิน ความลึกของดิน ปฏิกิริยาดน
ิ
ื้
ั
่
ิ
ื้
ตลอดจนความอุดมสมบูรณทางพนที่ เศษหิน กอนหิน และพนหินโผลกระจัดกระจายทวไป ไดแก ชุดดนที่ลาดเชิง
ั
เขา ปจจุบันมีการทำไรเลื่อนลอยบริเวณทมีความลาดชันสูง เกิดปญหาการชะลางพงทลายของดิน เนื่องจากมีการใช
ี่
ประโยชนที่ดินโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษดนและน้ำ
ิ
กลุมชุดดินที่ 62
ิ
ลักษณะดน : ดินนี้ประกอบดวยพืนที่ภูเขา ซึ่งมีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต ดินทีพบในบริเวณ
้
่
ิ
ั
ั้
ึ
ดังกลาวนี้มีทงดินลกและดนตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติแตกตางกนไปแลวแตชนิด
ั
ุ
่
ื้
ของหินตนกำเนิดในบริเวณนั้น มักมเศษหิน กอนหิน หรือหินพนโผล กระจัดกระจายทวไป สวนใหญยังปกคลม
ี
็
้
ดวยปาไมประเภทตาง ๆ เชน ปาเบญจพรรณ ปาเตงรัง หรือปาดิบชืน หลายแหงมีการทำไรเลื่อนลอย โดย
ึ่
ปราศจากมาตรการในการอนุรักษดินและน้ำ ซงเปนผลทำใหเกิดการชะลางพงทลายของดิน จนบางแหงเหลอแต
ั
ื
หินพื้นโผล ไดแกชุดดินที่ลาดชันเชิงซอน (SC) กลุมชุดดนนีไมควรนำมาใชประโยชนทางการเกษตร เนืองจากมี
่
ิ
้
ิ
ปญหาหลายประการที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศนควรสงวนไวเปนปาตามธรรมชาต เพื่อรักษาแหลงตนน้ำลำธาร
2.5 ทรัพยากรน้ำ
แหลงนํ้าธรรมชาติ กลุมจังหวัดภาคตะวันออกมีแมนํ้าลําธารหลายสาขา ทิศทางการไหลของนํ้า
ี
่
้
จากเหนือลงใตเปนสวนใหญ มเพียงลุมนํ้าโตนเลสาป ที่ไหลจากทิศตะวันตกในพืนทีอาเภอโปงนํ้ารอนลงสูที่ราบใน
ํ
ิ
ั
ราชอาณาจักรกมพูชาทางทศตะวนออก
ั