Page 31 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 31

22





                     2.5.1 แมน้ำในภาคตะวันออก 7 สายหลัก ในพื้นที่ภาคตะวันออก
                           1)  แมน้ำบางปะกง  มีความยาวนับจากจุดบรรจบกันถึงปากแมน้ำประมาณ  122  กิโลเมตร  เกดจาก
                                                                                                        ิ
                                                                                                ี
               การรวมตัวของแมน้ำ  2  สาย  คือ  แมน้ำนครนายก  และแมน้ำปราจีนบุรี  โดยไหลมาบรรจบกันทเขตติดตอของ  3
                                                                                                ่
                                    
                        ื
                    ั
               จังหวด  คอ  อำเภอองครักษ  จังหวัดนครนายก  อำเภอบางน้ำเปรี้ยว  จังหวัดฉะเชิงเทรา  และอำเภอบานสราง
               จังหวัดปราจีนบุรี  จากนั้นจะไหลผานอำเภอตาง  ๆ  ในจังหวดฉะเชิงเทรา  และไหลลงสูอาวไทยทีอำเภอบางปะกง
                                                                  ั
                                                     
                                                                                                ่
               จังหวัดฉะเชิงเทรา
                                                                                    ื
                           2)  แมน้ำระยอง  ชาวบานโดยทั่วไปเรียก  คลองใหญ  เกดจากเทอกเขาเรือแตกในอำเภอบานบึง
                                                                             ิ
               จังหวดชลบุรี  ไหลผานพื้นที่อำเภอปลวกแดง  อำเภอบานคาย  ผานตำบลทาประด  จังหวัดระยอง  และไหลลงสูทะเลท ี่
                                                                                   ู
                    ั
               ตำบลปากน้ำ  อำเภอเมืองระยอง  จังหวัดระยอง  มความยาวประมาณ  70 กโลเมตร
                                                                         ิ
                                                     ี
                           3)  แมน้ำประแสร  มีตนกำเนิดอยูระหวางเขาใหญกับเขากระเต็นในเขตจังหวัดชลบุรี  ไหลลงสูคลอง
               ประแสร  และคลองโพล  รวมเปนแมน้ำประแสร  ไหลผานตำบลตาง  ๆ  ในอำเภอแกลง  จังหวัดระยอง  มีความยาว
               ประมาณ 36 กิโลเมตร
                                              ิ
                                                    ื
                           4)  แมน้ำจันทบุรี  เกดจากเทอกเขาสอยดาวในอำเภอมะขาม  จังหวัดจันทบุรี  ไหลลงทะเลทตำบล
                                                                                                        ี่
               ปากน้ำแหลมสิงห แมน้ำจันทบุรี มีความยาวประมาณ 100 กิโลเมตร
                                                                                       ั
                           5)  แมน้ำพังราด ประกอบดวยลำน้ำสายสั้น ๆ ในเขตอำเภอแกลง จังหวดระยอง และอำเภอนายาย
                                                                    ั
               อาม  จังหวัดจันทบุรี  ไหลมาบรรจบกันแลวไหลออกสูปากน้ำพงราดเปนแนวเขตระหวางจังหวัดจันทบุรีกับจังหวัด
               ระยอง
                           6) แมน้ำตราด เกิดจากแองซับน้ำใตดินบนผืนปาสมบูรณที่เขาบรรทัด แลวไหลจากชายแดนที่อำเภอ
                                                                    ี่
               บอไร  ผานแหลงเพาะปลูกสำคัญในเขตอำเภอเขาสมิงจรดทะเลทอำเภอเมอง  มีความยาวประมาณ  15  กิโลเมตร
                                                                            ื
                                                  ุ
               แตเดิมแมน้ำตราดเปนแหลงน้ำที่ใชในการอปโภคบริโภคและเปนเสนทางคมนาคมที่สำคัญที่เชื่อมโยงสังคมบานปา
               เชน หนองบอน บอไร ชางทูน ฉางเกลือ กับชุมชนภายนอกที่เจริญกวา ตอมาเมือมีการพบแรรัตนชาติในบริเวณนั้น
                                                                                 ่
               จึงมีการชำระลางดินเพื่อหาพลอย  ทำใหแมน้ำตราดตื้นเขินตลอดสาย  แมน้ำตราดเปนแมน้ำสายหลักของเมือง
                            
               ตราด มีความสำคัญดานการประมงทางทะเล  ทั้งดานทาเทียบเรือประมง  และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปสัตวน้ำ

                                                                     
                           7) แมน้ำเวฬุ เปนแมน้ำที่ใชเปนเสนแบงเขต ระหวางจังหวดตราดกบจังหวดจันทบุรี ตนน้ำอยูในเขต
                                                                                        ั
                                                                           ั
                                                                                  ั
               จังหวัดจันทบุรี  ที่เขาชะอมและเขาสระบาป  ชวงที่ไหลผานจังหวัดตราด  มีความยาวประมาณ  20  กิโลเมตร  ไหล
               ผานบานทาจอด  ตำบลแสนตุง  อำเภอเขาสมิง  แลวไหลลงสูทะเลบริเวณอาวบานบางกระดาน  อำเภอแหลมงอบ
                                                                             
               จังหวดตราด
                    ั
                                                                         ็
                                                                                                    ั
                                           ั
                                                                ้
                           นอกจากนีภาคตะวนออกยังมีปญหาการรุกลำของน้ำเคมตามปากแมน้ำสายตาง ๆ นับวนจะยิ่งเปน
                                   ้
                                               ็
                                                                                                     
               ปญหามากขึ้น โดยการรุกล้ำของน้ำเคมจะรุนแรงมากในชวงฤดแลง เนื่องจากอัตราการไหลของน้ำในแมน้ำมีนอย
                                                                   ู
                                                   ู
               ประกอบกับทางตนน้ำมีการใชน้ำในฤดแลงกนมาก การรุกลำของน้ำเค็มก็จะยิ่งไปไดไกลมาก ซ่งปญหา
                                                                                                      ึ
                                                        ั
                                                                      ้
                                                      
                                                                   ื
                                                                               ่
                                                                      ี
                                                                      ่
                                                                        
                                                                               ี
               การรุกล้ำของน้ำทะเลในชวงฤดูแลง มักสงผลใหในบางพ้นทไมเหมาะทจะนําน้ำมาใชประโยชน สําหรับ
                                                                                           ื้
                                     
               การเพาะปลูกตามปกติ แตกลับเปนประโยชน สําหรับการเพาะเลี้ยงกุงในหลายพื้นที่ เชน พนที่ลุมน้ำสาขาแมน้ำ
                                              ึ
                                              ่
               จันทบุรี  แมน้ำเวฬุ และแมน้ำตราด ซงการระบายน้ำเสียจากพนที่เลี้ยงกุงที่ไมผานการบําบัดลงสูแมน้ำโดยตรง จะมี
                                                                                               
                                                                 ้
                                                                 ื
                                                                                                          
               ผลกระทบทําใหคณภาพน้ำในแมน้ำมีแนวโนมเสื่อมโทรมลงเรื่อย ๆ สําหรับแมน้ำที่มีปญหาการรุกล้ำของน้ำเค็ม ไดแก  
                                          
                             ุ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36