Page 39 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 39

30





                                                                          ี่
               ตาก ซึ่งจะทำการจำแนกชั้นความเสี่ยงโดยใชวิธีการทางสถิติ โดยมีปจจัยทใชในการวเคราะห ไดแก ปริมาณน้ำฝนรายป
                                                                                  ิ
               จำนวนวันที่ฝนตก  เขตชลประทานและแหลงน้ำ  แหลงน้ำใตดิน  พืชปกคลุมดิน  เนื้อดิน  (สภาพการระบายน้ำ)
                                                                                                           
               ความลาดชัน ความหนาแนนของลำน้ำในลุมน้ำยอย และขนาดของพื้นที่ลุมน้ำยอย โดยมีการประเมินความแหงแลงดวย
               ปจจัยทางอุตุนิยมวิทยา เปนการประเมินความแหงแลงโดยดัชนีปริมาณน้ำฝน การประเมินความแหงแลงดวยปจจัยทาง

                                                                            ิ
               อุทกวิทยา เปนการประเมินความแหงแลงโดยดัชนีระดับน้ำใตดิน การประเมนความแหงแลงดวยดัชนีความสมบูรณของ
                                                                                       
                                                
               พืชพรรณ  เปนคาความสัมพันธระหวาง  คาดัชนีวัดของพืชพรรณ  และคาดัชนีความแตกตางของพชพรรณ  ทั้งนี้การ
                                                                                              ื
                                                                                         ี่
                                   ั้
                     ิ
               ประเมนความแหงแลงทง 4 ประเภท นำมาจำแนกระดับความเสี่ยงตอการเกิดภัยแลงเชิงพื้นทโดยใชคาเฉลี่ย (x̄) และ
               คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยแบงระดับความเสี่ยงออกเปน 4 ระดับ ไดแก ไมเสี่ยงภัย  เสี่ยงภัยระดบตำ เสี่ยงภัย
                                                                                                    ่
                                                                                                 ั
               ระดบปานกลาง  และเสี่ยงภัยระดับสูง  ผลการศึกษาพบวา  พื้นที่ที่มีพื้นที่เสี่ยงภัยแลงระดับสูงอยูในอำเภอเมืองตาก
                   ั
                                               
                                                                                       ั
                                                           
               อำเภอสามเงา อำเภอพบพระ อำเภอแมสอด อำเภอแมระมาด อำเภอบานตาก และอำเภอวงเจา
                     อมเรศ  (2546)  ศึกษาเรื่องสภาพความแหงแลงในลุมน้ำยม  โดยเริ่มจากการตรวจสอบสภาพความแหงแลงที่ผานมา
                         ุ
                                                                                         ี
               คนหาสาเหต  และความรุนแรงของสภาพความแหงแลงในแตละพื้นที่  โดยยึดหลักปริมาณน้ำที่มในพื้นที่โดยสภาพธรรมชาต ิ
                 
                                                   ิ
                                                         
                                     ี
               คือ  น้ำฝน  และน้ำทาเทยบกับการใชน้ำในกจกรรมตาง  ๆ  ในแตละพื้นที่แลวกำหนดดัชนีวัดความแหงแลงในแตละพื้นท  ี่
               ลุมน้ำยม  ลุมน้ำยมตอนลางในแมน้ำยมสายหลักจะประสบปญหาขาดแคลนน้ำ  โดยเฉลี่ยเกือบทุกป  และในรอบ  5  -  6 ป จะ
                                  ้
                                      ่
                                     ่
                                     ี
               รุนแรงมากครั้งหนึ่งสวนพืนททีอยูไกลจากแมน้ำก็ประสบปญหาภัยแลงในชวงตนฤดูฝน   และในฤดูแลง   เนื่องจากปริมาณ
               ฝนในชวงฤดูแลงมีคานอยมาก   สวนในพื้นที่ลุมน้ำยมตอนบนประสบปญหาความแหงแลงนอยกวาตอนลาง   เนื่องจาก
               ปริมาณฝนโดยรวมสูงกวาพื้นที่อื่น  ๆ  และการใชน้ำยังอยูในเกณฑต่ำ  สวนน้ำอปโภคบริโภคขาดแคลนมากในชวงฤดูแลง
                                                                                ุ
                     ุ
               เกอบทกพื้นที่ของลุมน้ำยม  แตจะขาดแคลนน้ำในพื้นที่จังหวัดสุโขทัยและจังหวัดแพร  นอกจากนี้ยังพบวา  ในรอบ  40  ปที ่
                                       
                 ื
                                                                                             
                                                                                                            ั
                 
               ผานมา  ลุมน้ำยมมีแนวโนมของฝนรายปลดลง  1  -  14  มิลลิเมตรตอป  และปริมาณน้ำทาในฤดูแลงลดลง  ตามลำดบ
                       ี
               เนื่องจากมการใชน้ำเพิมขึ้นอยางตอเนือง
                                ่
                                            ่

               3.6   พื้นที่แลงซ้ำซาก
                                                         
                          ิ
                     การวเคราะหขอมล และปจจัยทเกี่ยวของดวยวิธีการถวงคาน้ำหนักในแตละปจจัย ดวยระบบสารสนเทศ
                                    ู
                                                ี่
                                                                                     ิ
                                               ี่
               ภูมิศาสตร เพอกำหนดขอบเขตพื้นทประสบภัยแลงซ้ำซาก ซึงปจจัยทีใชในการวเคราะหและกำหนดขอบเขต
                           ื
                           ่
                                                                           ่
                                                                    ่
                        
                                        ี่
                                     ื้
               ประกอบดวย ขอมูลเชิงพนท (Spatial Data) ขอมูลสถิติ (Statistic Data) ไดแก ขอมูลปริมาณน้ำฝนรวมรายป
                          
                                                                    ิ
               ขอมูลความตองการน้ำของพช ความสามารถในการอุมน้ำของดน พนที่ชลประทาน แหลงน้ำใตดิน สภาพการใช
                                       ื
                                                                        ื้
               ประโยชนที่ดน ความลาดเทของพนที่ ขอมูลประวตการเกิดภัยแลงในประเทศไทย และระบบสารสนเทศภูมศาสตร
                                                        ั
                                                         ิ
                                                                                                       ิ
                          ิ
                                           ื้
               เพื่อการวิเคราะหพื้นที่เสี่ยงตอความแหงแลง ทำการวเคราะหขอมลดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และวิเคราะห
                                                                        
                                                                      ู
                                                           ิ
                                                                                                          ้
                                                                                                          ื
                                                                            ื้
               ตามน้ำหนักตัวแปร พรอมกับขอมูลการสำรวจในพื้นที่จริง เพื่อกำหนดพนทแลงซ้ำซาก สามารถแบงระดบพนที ่
                                                                               ี่
                                                                                                       ั
                    ้
                                    ั
                          
                                                       ่
               แลงซำซากไดเปน 3 ระดบ และจัดทำเปนแผนทีแสดงพื้นที่แลงซ้ำซากรายภาค และรายจังหวัด โดยพื้นที่เปาหมาย
                       ั
                                                                                                      
               ภาคตะวนออก 7 จังหวัด คือ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแกวพบวามีเนื้อท  ี่
               แลงซ้ำซากทั้งหมด  2,890,554 ไร คิดเปนรอยละ  13.45 ของพื้นที่ภาคตะวันออก  และสามารถแบงออกเปน  3 ระดับ ดังนี้
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44