Page 61 - การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และสำรวจระยะไกล เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ในพื้นที่การเกษตรภาคใต้
P. 61

51



               ตารางภาคผนวกที่ 1 ค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย

                                                                    ค่า K

                     เนื้อดินบน                 บริเวณที่สูง                      บริเวณที่ลุ่มต่ำ

                                   ตอ/น  เหนือ  กลาง  ตต          ใต้  ตอ/น  เหนือ  กลาง  ตต         ใต้

                 Sand                 -      -      -     0.05  0.04      -      -      -    0.05  0.04

                 Lonmy sand         0.04  0.05  0.08  0.07  0.07  0.05  0.06  0.07  0.08  0.09


                 Sandy loam         0.29  0.27  0.30  0.19  0.20  0.26  0.30  0.26  0.34  0.30

                 Loam               0.29  0.33  0.33  0.30  0.33  0.35  0.35  0.43  0.33  0.34


                 Silt loam          0.37  0.49  0.56  0.21  0.44  0.34  0.34  0.47  0.44  0.39

                 Silt                 -      -      -       -      -      -      -      -      -    0.57


                 Sandy clay loam  0.24  0.21  0.20  0.25  0.19  0.20  0.22  0.21  0.23  0.21

                 clay loam          0.25  0.24  0.28  0.30  0.29  0.36  0.27  0.19  0.25  0.31

                 Silty clay loam    0.46  0.35  0.38  0.37  0.31  0.43  0.42  0.29  0.38  0.21


                 Sandy clay           -      -     0.15     -      -      -    0.17  0.17  0.18  0.18

                 Silty clay         0.23  0.21  0.26  0.19  0.22  0.27  0.27  0.23  0.29  0.29

                 Clay               0.13  0.15  0.14  0.12  0.11  0.15  0.18  0.18  0.14  0.14


               หมายเหตุ : ตอ/น คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ , ตต คือ ตะวันตก
               ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2545)

                         ดินในประเทศไทยมีค่า K อยู่ระหว่าง 0.04 - 0.56 โดยกลุ่มชุดดินที่ 22  23  24  41  41 และ
               43 ซึ่งมีเนื้อดินบนส่วนใหญ่เป็นดินทรายร่วน มีค่า K ต่ำสุด คือ ระหว่าง  0.04 – 0.08  และกลุ่มชุดดินที่ 33
               ซึ่งมีเนื้อดินบนส่วนใหญ่เป็นดินทรายร่วน มีค่า K สูงสุด คือ อยู่ระหว่าง 0.37 – 0.56 ขณะที่หน่วยธรณีวิทยา

               พวกหินทรายมีค่า K ต่ำสุด คือ อยู่ระหว่าง 0.04 – 0.08 และหน่วยธรณีวิทยาพวกหินดินดานและอัคนี มีค่า
               K ค่อนข้างสูง คือ 0.24 – 0.30 (กองสำรวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2562) ดังตารางภาคผนวกที่ 2
                         4) นำเข้าข้อมูลสถานภาพทรัพยากรดินและที่ดินของประเทศไทย กรมพัฒนาที่ดิน และข้อมูล
               ธรณีวิทยาประเทศไทย ในโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์และทำการซ้อนทับข้อมูล โดยเลือกเฉพาะในพื้นที่

               ภาคใต้ พิจารณาค่า K ตามค่ากลุ่มชุดดินที่จำแนกตามตารางภาคผนวกที่ 1 และตารางภาคผนวกที่ 2
                         5) เก็บข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อทำการวิเคราะห์ต่อไป (รูปภาคผนวกที่ 3)
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66