Page 12 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 12

4



                                               NDVI = (NIR – RED)/(NIR+RED)
                     เมื่อ  NIR คือ ค่าการสะท้อนแสงช่วงความยาวคลื่นของแสงอินฟราเรดใกล้

                         RED คือ ค่าการสะท้อนแสงช่วงความยาวคลื่นของแสงสีแดง
                     ค่าดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์ มีค่าระหว่าง -1  ถึง +1  โดยบริเวณที่ไม่มีพืชพรรณปกคลุมจะมี
               ค่าเข้าใกล้ -1  และบริเวณที่มีพืชพรรณปกคลุมหนาแน่นจะมีค่าเข้าใกล้ +1  ซึ่งค่าดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์
               แมลไลซ์ แสดงค่าความหนาแน่นของพืชพรรณที่ปกคลุมบนพื นผิวแต่ละบริเวณ ซึ่งจะท้าให้สามารถวิเคราะห์ช่วง

               การเจริญเติบโตของพืช ลักษณะการปกคลุมของพืช และเป็นข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจในการก้าหนดขอบเขต
               พื นที่เกษตรเสี่ยงต่อความแห้งแล้ง
                     1.4.8   ท้าการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านกายภาพเพื่อก้าหนดขอบเขตพื นที่เสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้ง
               โดยท้าการซ้อนทับข้อมูล ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) โดยก้าหนดน ้าหนัก และล้าดับชั นความส้าคัญของ

               ตัวแปรหลัก ที่มีต่อการเกิดภัยแล้ง ซึ่ง ได้แก่ ข้อมูลปริมาณฝนเฉลี่ย 30 ปี ข้อมูลปริมาณฝนรายวัน จ้านวนวันที่ฝน
               ตก ขอบเขตชลประทาน การใช้ประโยชน์ที่ดิน ความสามารถในการอุ้มน ้าของดินหรือการระบายน ้าของดิน ความ
               ลาดชัน ระยะห่างจากล้าน ้า  โดยจ้าแนกพื นที่เสี่ยงต่อการเกิดสภาวะแห้งแล้ง ออกเป็น 3  ระดับ คือ เสี่ยงสูง เสี่ยง
               ปานกลาง และเสี่ยงต่้า

                     1.4.9   ท้าการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากภาพถ่ายดาวเทียม โดยน้าข้อมูลอุณหภูมิพื นผิว และค่าดัชนีพืช
               พรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์มาซ้อนทับกัน ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อหาพื นที่ประสบสภาวะแห้งแล้ง
               โดยจ้าแนกอุณหภูมิพื นผิวออกเป็น 3  ระดับ ซึ่งดัดแปลงมาจากเกณฑ์ที่ใช้ในการจ้าแนกลักษณะอากาศในฤดูร้อน

               (เกษร และ อารีรัตน์, 2549) ได้ดังนี
                           ระดับ 1 อุณหภูมิพื นผิว 34 – 37.99 องศาเซลเซียส
                           ระดับ 2 อุณหภูมิพื นผิว 38 – 41.99 องศาเซลเซียส
                           ระดับ 3 อุณหภูมิพื นผิว มากกว่าหรือเท่ากับ 42  องศาเซลเซียส
                     1.4.10  น้าข้อมูลพื นที่เสี่ยง  3 ด้าน ได้แก่ ด้านอุตุนิยมวิทยา ด้านสภาพพื นที่เสี่ยงต่อการเกิดสภาวะ

               แห้งแล้ง และ ด้านสถิติพื นที่ประสบความแห้งแล้ง มาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงพื นที่ จ้าแนกความรุนแรง
               ของความแห้งแล้งออกเป็น 3 ระดับ คือ
                           ระดับที่ 1 พื นที่ที่จะประสบความแห้งแล้งสูง คือ พื นที่เสี่ยงที่มีความเสี่ยงครบ 3 ด้าน

                           ระดับที่ 2 พื นที่ที่จะประสบความแห้งแล้งปานกลาง คือ พื นที่เสี่ยงที่มีความเสี่ยง 2 ด้าน
                           ระดับที่ 3 พื นที่ที่จะประสบความแห้งแล้งต่้า คือ พื นที่เสี่ยงที่มีความเสี่ยง 1 ด้าน
                     1.4.11  ตรวจสอบผลการวิเคราะห์พื นที่ประสบความแห้งแล้งในพื นที่ท้าการเกษตร ในภาคสนามโดยสุ่ม
               ตรวจ โดยท้าการสุ่มแบบบังเอิญซึ่งเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อให้ได้จ้านวนตามต้องการโดยไม่มีหลักเกณฑ์

               กลุ่มตัวอย่างจะเป็นใครก็ได้ที่สามารถให้ข้อมูลได้ และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการสัมภาษณ์เกษตรกร
                     1.4.12  ปรับแก้ไขพื นที่ประสบความแห้งแล้งในพื นที่ท้าการเกษตรให้ถูกต้อง
                     1.4.13  จัดท้ารายงาน และแผนที่คาดการณ์เตือนภัยแล้งในพื นที่เกษตร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17