Page 11 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 11

3



                                       GMI = 0.125 P  + 0.125 P  + 0.5 P  + 0.25 P
                                                                        8
                                                                                 9
                                                     6
                                                               7
                     โดย P : ฝนรายเดือน (มิลลิเมตร) ของเดือนที่ i (เช่น P  หมายถึง ฝนของเดือนมิถุนายน)
                                                                  6
                          i
                     ค่า GMI ในแต่ละเดือนค้านวณจากสมการดังกล่าว และสะสมทุกสิ นเดือนที่ท้าการประเมินฯ ดังนี
                           1.  สิ นเดือนมิถุนายน GMI  = 0.125 P
                                                   6
                                                              6
                           2.  สิ นเดือนกรกฎาคม GMI  = 0.125 P  + 0.125 P
                                                               6
                                                                         7
                                                    7
                           3.  สิ นเดือนสิงหาคม GMI  = 0.125 P  + 0.125 P  + 0.5 P
                                                                        7
                                                                                8
                                                             6
                                                   8
                           4.  สิ นเดือนกันยายน GMI  = 0.125 P  + 0.125 P  + 0.5 P  + 0.25 P
                                                   9
                                                                        7
                                                                                8
                                                                                          9
                                                              6
                     ค่า GMI ที่ค้านวณได้จะมีหน่วยเป็นมิลลิเมตร อย่างไรก็ตามค่า GMI นี  สามารถท้าให้อยู่ในรูปอื่น ได้
               เช่น  เปอร์เซ็นต์ของค่า  GMI  ปกติ  เปอร์เซ็นต์ไตล์ของล้าดับที่ของ  GMI  ฯลฯ  และเพื่อความสะดวกในการ
               ก้าหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการพิจารณาสภาวะของพืช  GMI  จะอยู่ในรูปของ  percentile  rank  ซึ่งมีค่า
               ระหว่าง 0 - 100 วิธีการหาค่า percentile rank ของ GMI นั นหาได้โดยการน้าค่าอนุกรมเวลาของ GMI ของ
               แต่ละบริเวณมาเรียงล้าดับจากน้อยไปหามาก และค้านวณค่า percentile rank ของ GMI ได้จาก
                                                 GMI  = (r x 100)/(n + 1)
                                                    pct
                     โดย    GMI  : percentile rank ของ GMI
                                pct
                           r : ล้าดับที่ของค่าข้อมูลดิบ GMI ของปีนั น ๆ
                           n : จ้านวนปีของข้อมูลของแต่ละสถานี
                           เกณฑ์ GMI  ที่ใช้พิจารณาสภาวะของพืช มีดังนี คือ
                                      pct
                           เกณฑ์ GMI                              สภาวะของพืช
                                      pct
                           0 - 20                                 แล้งจัด
                           21 - 30                                แล้ง
                           31 - 40                                ค่อนข้างแล้ง
                           41 - 60                                ปกติ

                           61 - 90                                ความชื นสูงกว่าปกติ
                           91 - 100                               ความชื นเกินความต้องการ
                     1.4.4   ศึกษาลักษณะอุทกวิทยาของพื นที่ลุ่มน ้าในประเทศไทย ได้แก่ แหล่งน ้าผิวดิน อ่างเก็บน ้าขนาด

               กลาง และขนาดใหญ่ แหล่งน ้าใต้ดิน และพื นที่ชลประทาน
                     1.4.5   ค้านวณหาระยะห่างจากล้าน ้าในแต่ล้าน ้า และระยะห่างจากคลองชลประทาน ระยะห่างจากล้าน ้า
               และคลองชลประทานเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดพื นที่แห้งแล้ง โดยผู้ที่อาศัยอยู่ใกล้ล้าน ้าจะมีความเสี่ยงต่้าใน
               การเกิดความแห้งแล้ง

                     1.4.6   ท้าการวิเคราะห์ค่าอุณหภูมิพื นผิว (Land  Surface  Temperature  :  LST) จากข้อมูลภาพ
               ดาวเทียม TERRA ระบบ MODIS ซึ่งอุณหภูมิพื นผิวบริเวณที่มีพืชพรรณปกคลุมมีความสัมพันธ์โดยตรงกับค่าศักย์
               การคายระเหยของพืช (Potential Evapotranspiration : PET) และมีความสัมพันธ์โดยอ้อมกับปริมาณความชื นใน
               ดินบริเวณรากพืช

                     1.4.7   ท้าการวิเคราะห์ค่าดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์ (Normalized Difference Vegetation
               Index : NDVI) จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม TERRA ระบบ MODIS แบนด์ 1 ค่าการสะท้อนแสงช่วงความยาวคลื่น
               ของแสงสีแดง (Red) และ แบนด์ 2 ค่าการสะท้อนแสงช่วงความยาวคลื่นของแสงอินฟราเรดใกล้ (Near Infrared :
               NIR) ที่อยู่ในรูปเชิงเลข ค่าดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์ สามารถค้านวณจากสมการดังนี  (เกษร และ

               อารีรัตน์, 2549)
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16