Page 9 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 9

1



                                                         บทที่ 1

                                                          บทน ำ

               1.1  หลักกำรและเหตุผล

                     ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นปรากฏการณ์ปกติของธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ แผ่นดินไหว ดินถล่ม
               น ้าท่วม ไซโคลนหรือไต้ฝุ่น เหตุการณ์เหล่านี เมื่อเกิดขึ นจะสร้างความเสียหาย และความสูญเสียทั งแก่ทรัพย์สิน
               และชีวิตมนุษย์เป็นจ้านวนมาก มนุษย์ไม่อาจหยุดยั งภัยพิบัติทางธรรมชาติได้ แต่มนุษย์สามารถที่จะท้าความ
               เข้าใจและอยู่ร่วมกับภัยต่างๆ นี ได้ด้วยการ ป้องกัน บรรเทาและเตรียมการรองรับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจ

               เกิดขึ นได้ทุกเวลา
                     ปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติในหลายรูปแบบ
               โดยที่ส้าคัญได้แก่ อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม โดยเฉพาะภัยจากพายุหมุนเขตร้อนซึ่งท้าให้เกิดความเสียหาย
               ที่รุนแรงและเป็นบริเวณกว้าง  รวมถึงปัญหาภัยแล้ง  ฝนทิ งช่วง  และการระบาดของโรค  แมลงศัตรูพืช  โรค

               ระบาดสัตว์และสัตว์น ้า
                     ภัยแล้งเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีความซับซ้อน มีการก่อตัวอย่างช้าๆ ไม่อาจรู้ล่วงหน้า หรือกว่าจะ
               รู้ก็เมื่อสถานการณ์ลุกลามแล้ว และเป็นปัญหาที่เกิดขึ นอยู่เป็นประจ้าทุก ๆ ปี  นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่ม

               มากขึ น สร้างความเสียหายและเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ พื นที่ที่ประสบภัยแล้งจะมีปัญหาการขาด
               แคลนน ้าส้าหรับอุปโภคบริโภคและท้าการเกษตร กอปรกับการท้าการเกษตรในประเทศไทยส่วนใหญ่อาศัย
               น ้าฝนจากธรรมชาติเป็นหลัก ดังนั นเมื่อปริมาณน ้าไม่เพียงพอท้าให้ผลผลิตจากการเพาะปลูกลดลง เกิดความ
               ขาดแคลนสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปส่งผลต่อเศรษฐกิจ และก่อให้เกิดการละทิ งถิ่นฐานไปท้างานในเมือง
                     ภัยแล้งในแต่ละปีได้สร้างความเสียหายจ้านวนมาก จากสถิติความเสียหายที่ส้ารวจพบจากสถานการณ์

               ภัยแล้งของประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2532  –  2557 ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พบว่า มูลค่า
               ความเสียหายที่เกิดจากภัยแล้ง มีมูลค่าความเสียหายรวมทั งสิ น 18,244.99  ล้านบาท  พ.ศ. 2548  เป็นปีที่มี
               มูลค่าความเสียหายมากที่สุด คือ 7565.86 ล้านบาท

                     ภาคการเกษตรในช่วง พ.ศ. 2532  –  2557 พบว่าพื นที่การเกษตรและผลผลิตทางการเกษตร ได้รับ
               ความเสียหายจากภัยแล้งเฉลี่ย 2,698,955 ไร่ โดย พ.ศ.2537 พื นที่การเกษตรได้รับความเสียหายจากภัยแล้ง
               มากที่สุด โดยได้รับความเสียหายถึง 17,923,817  ไร่ (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย,  2557)
                     ดังนั นการจัดท้าแผนที่เตือนภัยแล้งในพื นที่ท้าการเกษตรก่อนฤดูกาลเพาะปลูกจะเป็นการวิเคราะห์พื นที่

               เพื่อเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ภัยแล้งที่จะเกิดขึ นในช่วงภัยพิบัติ และใช้เป็นกรอบแนวทางการก้าหนด
               มาตรการในการป้องกัน และ วางแผนการเพาะปลูกพืชก่อนฤดูกาลเพาะปลูก เพื่อป้องกัน บรรเทาความ
               เสียหาย และ เพื่อลดมูลค่าที่ต้องจ่ายชดเชยให้ความช่วยเหลือในพื นที่เกิดภัยพิบัติ
               1.2  วัตถุประสงค์

                     เพื่อคาดการณ์พื นที่เกษตรที่จะประสบภัยแล้ง โดยการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ และข้อมูลการ
               ส้ารวจระยะไกล
               1.3  ระยะเวลำและสถำนที่ด ำเนินกำร
                     3.1  ระยะเวลาด้าเนินการ       เริ่มต้นเดือนตุลาคม   พ.ศ. 2557

                                                   สิ นสุดเดือนกันยายน   พ.ศ. 2558
                     3.2  พื นที่ด้าเนินการ        77 จังหวัด
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14