Page 10 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 10

2



               1.4  ขั้นตอนและวิธีกำรด ำเนินงำน
                     1.4.1   รวบรวมข้อมูล พื นฐานส้าคัญที่ใช้ในการศึกษาวิเคราะห์พื นที่เกษตรที่จะประสบความแห้งแล้ง

               ได้แก่
                           1)  แผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1: 50,000  กรมแผนที่ทหาร พ.ศ. 2556
                           2)  สภาพภูมิอากาศ ได้แก่ ข้อมูลปริมาณฝนเฉลี่ย 30 ปี ตั งแต่ พ.ศ. 2524 – 2553 ข้อมูล
               ปริมาณน ้าฝนรายวัน และ จ้านวนวันฝนตก พ.ศ.  2557  กรมอุตุนิยมวิทยา

                           3)  อุทกวิทยา ได้แก่ ข้อมูลแหล่งน ้าผิวดิน กรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2548 - 2558  และ แหล่ง
               น ้าใต้ดิน กรมทรัพยากรน ้าบาดาล พ.ศ. 2553
                           4)  ข้อมูลกลุ่มชุดดิน พ.ศ. 2556 มาตราส่วน 1: 25,000  กรมพัฒนาที่ดิน
                           5)  สภาพการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2553 – 2556 มาตราส่วน 1 : 25,000  กรมพัฒนาที่ดิน

                           6)  ความลาดชันของพื นที่ ค้านวณจากข้อมูลความสูงเชิงเลข ของประเทศไทย ที่มีความละเอียด
               5 เมตร กรมพัฒนาที่ดิน
                           7)  แผนที่พื นที่ชลประทาน พ.ศ. 2557 มาตราส่วน 1 : 50,000  กรมชลประทาน
                           8)  ข้อมูลขอบเขตการปกครอง พ.ศ. 2556  มาตราส่วน 1: 50,000  กรมการปกครอง

                           9)  แผนที่ขอบเขตลุ่มน ้า มาตราส่วน 1 : 50,000  กรมทรัพยากรน ้า
                           10)  ภาพถ่ายดาวเทียม TERRA ระบบ MODIS (Land Surface Temperature :resolution 1
               km.)  ที่อยู่ในรูปเชิงเลข ถ่ายครอบคลุมพื นที่ประเทศไทยทุก 8 วัน ตั งแต่พฤษภาคม พ.ศ. 2548 – กันยายน พ.ศ.

               2557 จาก United state for geology survey (USGS)
                           11)  ภาพถ่ายดาวเทียม TERRA ระบบ MODIS (resolution 250 m.)  band 1 (Red) และ band
               2 (NIR) ที่อยู่ในรูปเชิงเลข ถ่ายครอบคลุมพื นที่ประเทศไทยทุก 16 วัน ตั งแต่พฤษภาคม พ.ศ. 2548 – กันยายน
               พ.ศ. 2557 จาก United state for geology survey (USGS)
                     1.4.2   น้าเข้าข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ArcView , ArcGIS  ENVI ให้อยู่ในรูป  Digital data

                     1.4.3   ศึกษาข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ได้แก่
                           1)  ปริมาณน ้าฝน และจ้านวนวันที่ฝนตกในหนึ่งปี โดยก้าหนดเขตพื นที่ความแห้งแล้ง ตาม
               ปริมาณน ้าฝนที่ตก หรือตามโอกาสที่ฝนตก ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 4 เขตคือ

                                (1)  เขตพื นที่ที่มีโอกาสฝนตกน้อยกว่า หรือเท่ากับ 50 วันต่อปี ถือว่าเป็นเขตแห้งแล้งมาก
                                (2)  เขตพื นที่ที่มีโอกาสฝนตกระหว่าง 51 ถึง 70 วันต่อปี ถือว่าเป็นเขตค่อนข้างแห้งแล้ง
                                (3)  เขตพื นที่ที่มีโอกาสฝนตกระหว่าง 71 ถึง 90 วันต่อปี ถือว่าเป็นเขตกึ่งแห้งแล้ง
                                (4)  เขตพื นที่ที่มีโอกาสฝนตกมากกว่า 90 วันต่อปี ไม่ถือว่าเป็นเขตแห้งแล้ง

                           2)  ค่าดัชนีความแห้งแล้งทางด้านการเกษตร (Generalized Monsoon Index : GMI) แสดง
               ถึงผลกระทบที่เกิดแก่พืชที่ก้าลังเจริญเติบโต  อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการขาดแคลนความชื น  ดังนั นการ
               วิเคราะห์ค่าดัชนีความแห้งแล้งทางด้านการเกษตร  จึงท้าให้สามารถทราบสภาวะโดยทั่วไปของพืชใช้น ้าฝนที่
               ปลูกในฤดูมรสุม  โดย  ค่าดัชนีความแห้งแล้งทางด้านการเกษตร  จะมีค่าขึ นอยู่กับปริมาณฝนรายเดือนใน

               ระหว่างช่วงฤดูมรสุมนั นๆ  เนื่องจากว่าในช่วงประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมถือว่าเป็น
               ช่วงที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และเป็นช่วงฤดูเพาะปลูกของพืชโดยทั่วไป
               ฉะนั นค่าดัชนีความแห้งแล้งทางด้านการเกษตรที่ใช้ในที่นี จึงเป็นค่าในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ โดยพิจารณา
               จากปริมาณฝนตั งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ค่าดัชนีความแห้งแล้งทางด้านการเกษตร สามารถค้านวณ

               จากสมการ ดังนี  (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2557ก)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15