Page 9 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 9

บทที่ 1
                                                               บทนำ


                          1.1  หลักการและเหตุผล

                                                         ิ
                              ภัยแลงเปนปรากฏการณที่กอใหเกดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสินเปนอยางมาก โดยปญหา
                                                    
                          ที่เกิดขนคือ การขาดแคลนน้ำเพอการอปโภคและทำการเกษตรในพนที่ตาง ๆ นอกจากภัยแลง
                                ึ้
                                                     ื่
                                                           ุ
                                                                                  ื้
                                                                                      
                               ิ
                          จะเกดขึ้นเองตามธรรมชาติแลว ยังอาจเกดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่เปนผลจาก
                                                            ิ
                          การกระทำของมนุษยทำใหเกิดความเสียสมดุลดานระบบนิเวศวทยาของพื้นที่ตนน้ำ ซึ่งสงผลกระทบ
                                                                            ิ
                                               ื้
                                                                                     ้
                                                                         
                                                     ้
                          โดยตรงตอปริมาณน้ำในพนที่ลุมนำและยังมีผลกระทบโดยออมกับปริมาณนำฝน ประกอบกับสภาวะ
                          ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยรวมของโลก (Climate Change) ที่มีความแปรปรวนและ
                                                                         ี
                          มีความซับซอนสงผลใหปรากฏการณเอลนีโญ (El Nino) มความรุนแรงมากยิ่งขึ้น สงผลใหปริมาณ
                          น้ำฝนของประเทศไทยมีแนวโนมจะต่ำกวาปกติ ในขณะที่อุณหภูมิของอากาศจะสูงกวาปกติ สงผลให
                          ภัยแลงทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะประเทศไทยประชากรสวนใหญเปนเกษตรกรและเปน
                          เกษตรน้ำฝนตองอาศัยน้ำฝนเปนหลัก เมื่อพื้นที่ในการทำการเกษตร ไดรับผลกระทบจากภัยแลง
                          โดยตรง เนื่องจากดินขาดความชื้น พืชขาดน้ำ พชหยุดการเจริญเติบโต ทำใหผลผลิตเสยหาย มีปริมาณ
                                                                                            ี
                                                               ื
                          และคุณภาพลดลง สวนใหญภยแลงที่มีผลตอการเกษตร มักเกดในฤดูฝนที่มีฝนทิ้งชวงเปนเวลานาน
                                                  ั
                                                                           ิ
                                               ั
                                                                                             
                                         ิ
                                     ี้
                          สาเหตุเหลานเมื่อเกดรวมกบการใชประโยชนที่ดินไมเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ดวยแลว ยิ่งกอใหเกิดปญหา
                          การขาดแคลนน้ำมากยิ่งขึ้น
                                                                   
                              จังหวัดกาญจนบรี เปนจังหวัดที่ประสบภัยแลงเปนประจำ และยิ่งทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น จะเห็นไดวา
                                           ุ
                                                                                                     ื่
                          การประกาศจังหวัดประสบภัยแลงของกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยและหนวยงานอน ๆ
                                                              
                                                              ู
                                                   ั
                          ในแตละครงมักจะมีชือของจังหวดกาญจนบุรีอยบอยครังจนไดรับการขนานนามวา “อสานแหงภาคกลาง”
                               
                                   ้
                                                                        
                                                                                               
                                                                                          ี
                                                                   ้
                                          ่
                                   ั
                                                 ั
                          โดยเฉพาะบริเวณทางทิศตะวนออกเฉียงเหนือของจังหวัด ซึ่งประกอบดวย 5 อำเภอจาก 13 อำเภอ
                          ไดแก อำเภอบอพลอย อำเภอหวยกระเจา อำเภอเลาขวัญ อำเภอหนองปรือ และอำเภอพนมทวน
                               
                          โดยภยแลงทเกิดขึ้นมีหลายสาเหตุดวยกัน ทั้งปญหาปริมาณน้ำฝนไมเพียงพอ การกระจายตัวของฝน
                               ั
                                     ี่
                                                     ื
                          ไมทั่วถึง ฝนทิ้งชวง มีเนื้อดินในพ้นที่ทำการเกษตรสวนใหญเปนดินทรายทำใหความสามารถที่จะ
                            ุ
                                                                  ื
                          อมน้ำของดินต่ำ สภาพการใชที่ดินสวนใหญเปนพชไรและเปนพื้นที่เกษตรน้ำฝน ทำใหเสี่ยงตอการ
                                                                        ่
                                                                     ้
                            
                                                                        ี
                          ไดรับผลกระทบเปนประจำ กอใหเกดความเสียหายตอพืนทเกษตรกรรมเปนวงกวาง
                                                      ิ
                                                    
                                                                                   
                                                 
                                                                   ู
                                                                                             ื้
                              ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้ไดนำระบบสารสนเทศภมิศาสตรมาใชเพื่อกำหนดขอบเขตพนที่แลงซ้ำซาก
                          จังหวัดกาญจนบุรี โดยวิเคราะหปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการเกดแลงซ้ำซาก ไดแก ปริมาณน้ำฝนรายป
                                                                          ิ
                          (ยอนหลัง 10 ป) พ้นที่เขตชลประทาน ระยะทางจากแหลงน้ำผิวดิน (buffer) ความสามารถในการ
                                          ื
                          อมน้ำของดิน ความลาดชันของพนท และสภาพการใชที่ดินซึ่งเปนตัวบงชี้ถึงความตองการน้ำของพืช
                                                                             
                            ุ
                                                       ี่
                                                    ื้
                                                                ื้
                            ื่
                                                                                 
                          เพอกำหนดขอบเขต และระดับความรุนแรงของพนที่แลงซ้ำซากซึ่งจะเปนขอมูลพนฐานในการวางแผน
                                                                                    
                                                                                         ื้
                          การจัดการพื้นที่เกษตรกรรมอยางยั่งยืนตอไป
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14