Page 12 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 12
4
2) กลุมปจจัยผันแปร
2.1) ปริมาณน้ำฝนที่ตกในปนั้น ๆ (ปริมาณน้ำฝนรายป ยอนหลัง 10 ป) เปนตัวชี้วัด
ความเพียงพอตอความตองการใชน้ำของพืชแตละชนิดแตละพื้นที่ในปนั้น ๆ หรือไม
ื
ิ
2.2) สภาพการใชที่ดน เปนตัวชี้ถึงความตองการน้ำของพช (Crop Requirement)
ื
ึ
่
ั
ี
ในแตละชวงของการเพาะปลูก ซงพชแตละชนิดมความตองการใชน้ำในปริมาณไมเทากน
เนื่องจากสภาพการใชที่ดินเปนปจจัยที่มีความเกี่ยวของกบความตองการน้ำของพช
ั
ื
และซึ่งเกี่ยวของกับการเกิดสภาวะแลงซ้ำซากของพื้นที่นั้น คือ หากมีปริมาณน้ำฝนไมเพียงพอกับ
ี่
ื
ความตองการน้ำของพชของการใชทดินประเภทนั้น ๆ ก็จะทำใหเกิดสภาวะความแหงแลงในพนที่ได
ื้
เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่แลงซ้ำซาก จะคำนวณหาคาคะแนนพื้นที่แลงซ้ำซาก ดังนี้ (สำนักบริหารและ
พัฒนาการใชที่ดิน, 2550)
S = (W1×R1) + (W2×R2) +….+ (Wn×Rn) (1)
่
้
่
โดยที่ S = ระดับคะแนนรวมของพนทีเสียงแลงซำซาก
ื
้
W1 ถึง Wn = คาถวงน้ำหนักของแตละปจจัย
R1 ถึง Rn = คะแนนคาถวงน้ำหนักของแตละปจจัย
ั
1.5.6 เมื่อผานการวิเคราะหขอมูลรายป (10 ป) และนำขอมูลแตละปมารวมกนแลว กำหนดขอบเขต
พื้นที่แลงซ้ำซาก จะไดระดับคะแนนรวมของพื้นที่แลงซ้ำซาก จากนั้นจัดลำดับชั้นของพื้นทแลงซ้ำซาก
ี่
และสามารถแบงระดับความแลงซ้ำซากเปน 3 ระดับ ไดแก
พื้นที่แลงซ้ำซากระดับที่ 1 คือ พื้นที่แลงซ้ำซากตั้งแต 6 ครั้งขนไปในรอบ 10 ป หมายถึง
ึ้
พื้นที่ที่มีความแหงแลงดานการเกษตรและเปนพื้นที่เกิดขึ้นประจำ
พื้นที่แลงซ้ำซากระดับที่ 2 คือ พนที่แลงซ้ำซาก 4 - 5 ครั้งในรอบ 10 ป หมายถึง พื้นที่
ื้
ที่มีความแหงแลงดานการเกษตรและเปนพื้นที่เกิดขึ้นบอยครั้ง
้
้
ิ
่
้
่
ึ
พืนทีแลงซ้ำซากระดบที 3 คือ พนทีแลงซ้ำซากไมเกน 3 ครังในรอบ 10 ป หมายถง พืนที ่
ื
่
ั
้
ที่มีความแหงแลงดานการเกษตรและเปนพื้นที่เกิดขึ้นเปนครั้งคราว
ื้
ซึ่งการแบงระดับความเหมาะสมของพนที่ คะแนนรวมของพื้นที่เสี่ยงแลงซ้ำซาก จะถูกนำมา
แบงระดบความเหมาะสมของพนที ตามสมการดงน
่
ื
ั
้
ั
ี
้
พนที่แลงซ้ำซากระดับที่ 1 หาคาจาก S > +S.D.
ื้
ื
้
ี
พนทีแลงซำซากระดับท 2 หาคาจาก - S.D. < S < + S.D.
่
้
่
พนทีแลงซำซากระดับท 3 หาคาจาก S < - S.D.
้
่
ื
่
ี
้
S = ระดับคะแนนรวมของพื้นที่เสี่ยงแลงซ้ำซาก
= คาเฉลี่ย (Mean)
S.D. = คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)