Page 10 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 10

2




                          1.2  วัตถุประสงค

                                      ื
                              1.2.1 เพ่อประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ในการกำหนดขอบเขตพื้นที่ประสบสภาวะ
                          แลงซ้ำซาก จังหวัดกาญจนบุรี
                              1.2.2  เพื่อเสนอแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่แลงซ้ำซาก จังหวัดกาญจนบุรี

                          1.3  ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินงาน

                              1.3.1  ระยะเวลา                เริ่มตนเดือนตุลาคม พ.ศ. 2565
                                                      สิ้นสุดเดือนกันยายน พ.ศ. 2566
                              1.3.2  สถานที่ดำเนินการ   จังหวัดกาญจนบุรี


                          1.4  อุปกรณและวิธีการดำเนินงาน

                              1.4.1  อุปกรณที่ใชในการดำเนินงาน
                                  1) โปรแกรม Microsoft Word
                                  2) โปรแกรม Microsoft Excel
                                                                        
                                        3) โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ไดแก ArcView และArcGIS
                                        4) เครื่องพิมพ (Printer)
                              1.4.2  วิธีการดำเนินงาน โดยเก็บรวบรวมขอมูลเอกสารประกอบและขอมูลพนฐานสำคัญที่ใช
                                                                                      
                                                                                           ื้
                          ในการศึกษาวิเคราะหพนทีแลงซ้ำซาก ดังนี้
                                               ่
                                             ื
                                             ้
                                    1) แผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1: 50,000 กรมแผนที่ทหาร พ.ศ. 2556
                                                                                               ุ
                                  2) สภาพภูมิอากาศ ขอมูลปริมาณฝนรายป ตั้งแต พ.ศ. 2556 – 2565 กรมอตุนิยมวิทยา
                                  3) อุทกวิทยา ไดแก ขอมูลแหลงน้ำผิวดิน (buffer) กรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2556 - 2565
                                  4) แผนที่ขอมูลชุดดิน พ.ศ. 2562 มาตราสวน 1: 25,000 กรมพัฒนาที่ดิน
                                  5) แผนที่สภาพการใชที่ดิน พ.ศ. 2564 มาตราสวน 1: 25,000 กรมพัฒนาที่ดิน
                                  6) ความลาดชันของพนท คำนวณจากแบบจำลองความสูงเชิงเลข ( Digital Elevation
                                                      ื้
                                                        ี่
                          Model : DEM ) มาตราสวน 1: 4,000 จังหวัดกาญจนบุรี กรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2547 - 2550
                                  7) แผนทขอมูลขอบเขตการปกครอง พ.ศ. 2556 มาตราสวน 1: 50,000 กรมการปกครอง
                                           ี่
                                  8) ขอมูลความตองการน้ำของพืช (Crop Requirment)
                                  9) แผนที่พื้นที่ชลประทาน พ.ศ. 2561 มาตราสวน 1: 50,000 กรมชลประทาน

                                                                          ุ
                                                                                   ้
                                                                                   ั
                          1.5  การวิเคราะหเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) สามารถสรปในแตละขนตอนไดดังน  ้ ี
                                                                                          
                                                                   ี่
                              1.5.1  การคัดเลือกปจจัยโดยพิจารณาจากปจจัยทเกี่ยวของที่เปนปจจัยคงที่ ไดแก พื้นที่เขตชลประทาน
                          ระยะทางจากแหลงน้ำผิวดิน (buffer) ความสามารถในการอุมน้ำของดิน ความลาดชันของพื้นท  ี่
                                                                                                   ี
                              1.5.2  การเตรียมขอมูลเชิงพื้นที่ เปนขอมูลปจจัยตาง ๆ ในรูปแบบแผนที่ที่มีรายละเอยดและ
                                                                                                       ู
                          มาตราสวนที่เหมาะสม ซึ่งควรเปนขอมูลที่มาตราสวนเดียวกัน พรอมทำการตรวจสอบและแกไขขอมล
                                                                                                  
                          เพื่อความถูกตองกอนนำไปประยุกตใช
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15