Page 10 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคเหนือปรับปรุงปี 2564
P. 10

2







                ขอบเขตพื้นที่แล้งซ้ำซาก ซึ่งจะทำให้ทราบถึงระดับความรุนแรง และจำนวนพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดแล้ง
                ซ้ำซาก ซึ่งจะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการจัดการพื้นที่เกษตรกรรมอย่างยั่งยืนต่อไป




                1.2 วัตถุประสงค์
                         1. เพื่อประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์   และข้อมูลสำรวจระยะไกลในการปรับปรุง

                ขอบเขตพื้นที่ประสบสภาวะแห้งแล้งซ้ำซาก
                         2. เพื่อเสนอแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมที่ประสบภัยแล้ง




                1.3 อุปกรณ์และวิธีการดำเนินงาน
                         1.3.1 อุปกรณ์ในการดำเนินงาน

                               1) โปรแกรม Microsoft Word

                               2) โปรแกรมMicrosoft Excel
                               3) โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ ArcGIS ในการจัดทำแผนที่ในการวิเคราะห์ข้อมูล

                ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์

                               4) โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลการรับรู้จากระยะไกล
                               5) เครื่องพิมพ์ (Printer)

                         1.3.2 วิธีการดำเนินการ การเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารประกอบ รวบรวมข้อมูลพื้นฐานสำคัญที่
                ใช้ในการศึกษาวิเคราะห์พื้นที่แล้งซ้ำซากในพื้นที่ทำการเกษตร ดังนี้

                              1) แผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1: 50,000 กรมแผนที่ทหาร พ.ศ. 2556
                              2) สภาพภูมิอากาศ ข้อมูลปริมาณน้ำฝนรายปี 10 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2554 - 2563

                              3) อุทกวิทยา ได้แก่ ข้อมูลแหล่งน้ำผิวดิน กรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2554 - 2563

                              4) ข้อมูลกลุ่มชุดดิน พ.ศ. 2556 มาตราส่วน 1: 25,000 กรมพัฒนาที่ดิน
                              5) สภาพการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2554 – 2563  มาตราส่วน 1 : 25,000 กรมพัฒนาที่ดิน

                              6) ความลาดชันของพื้นที่ คำนวณจากข้อมูลความสูงเชิงเลข ของประเทศไทย ที่มีความ

                ละเอียด 5 เมตร กรมพัฒนาที่ดิน
                              7) แผนที่พื้นที่ชลประทาน พ.ศ. 2557 มาตราส่วน 1 : 50,000 กรมชลประทาน

                              8) ข้อมูลความต้องการน้ำของพืช (Crop Requirment)

                              9) ข้อมูลขอบเขตการปกครอง พ.ศ. 2556 มาตราส่วน 1: 50,000 กรมการปกครอง
                         1.3.3 ปัจจัยที่ใช้การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่แล้งซ้ำซาก ปัจจัยที่มีความสำคัญ และสอดคล้องต่อ

                การวิเคราะห์พื้นที่ประสบสภาวะแล้งซ้ำซาก  แบ่งเป็นปัจจัยคงที่ และปัจจัยผันแปร ดังนี้
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15