Page 92 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 92

82



                     4.2.2  การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งด้านกายภาพ เป็นการวิเคราะห์ถึงศักยภาพ และความล่อแหลม

               ของพื้นที่ว่าพื้นที่ไหนมีความล่อแหลมต่อการเกิดความแห้งแล้ง โดยปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์หาความเสี่ยง
               ของพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดความแห้งแล้ง ประกอบด้วย ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ขอบเขตชลประทาน

               ความสามารถในการอุ้มน้ าของดิน หรือการระบายน้ าของดิน ความลาดชันของพื้นที่ สถิติภูมิอากาศในคาบ 30

               ปี(พ.ศ.2524-2553) ระยะห่างจากล าน้ า และคลองชลประทาน โดยจ าแนกออกเป็น 3  ระดับ ได้แก่ ด้าน
               กายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งสูง  ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งปาน

               กลาง และด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งต่ า พบว่า ประเทศไทยมีสภาพพื้นที่ที่มีความ
               เสี่ยงเกิดความแห้งแล้งดังนี้ (ตารางที่ 18 และ ภาพที่ 19)

                           1)  ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งสูง พื้นที่ส่วนใหญ่พบในสภาพการใช้
               ที่ดินเป็นพื้นที่ท าการเกษตร ที่มีความลาดชันมากกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ มีความสามารถในการอุ้มน้ าน้อย ไม่อยู่

               ในเขตชลประทาน ห่างจากล าน้ าและคลองชลประทานมากกว่า 1500 เมตร มีเนื้อที่ 55,466,761 ไร่ คิดเป็น

               ร้อยละ 17.33  ของพื้นที่ประเทศ โดยในภาคเหนือจังหวัดที่มีพื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความ
               แห้งแล้งสูงมากที่สุด คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ 2,335,574 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.73 ของพื้นที่ประเทศ ภาค

               ตะวันออกเฉียงเหนือจังหวัดที่มีพื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งสูงมากที่สุด คือ จังหวัด

               นครราชสีมา มีเนื้อที่ 3,016,147  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.94  ของพื้นที่ประเทศ ภาคกลางจังหวัดที่มีพื้นที่ด้าน
               กายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งสูงมากที่สุด คือ จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 1,869,126  ไร่ คิด

               เป็นร้อยละ 0.58 ของพื้นที่ประเทศ ภาคตะวันออกจังหวัดที่มีพื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความ
               แห้งแล้งสูงมากที่สุด คือ จังหวัดสระแก้ว มีเนื้อที่ 1,419,542 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของพื้นที่ประเทศ และ

               ภาคใต้จังหวัดที่มีพื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งสูงมากที่สุด คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
               มีเนื้อที่ 3,198,421 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.00 ของพื้นที่ประเทศ

                           2)  ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งปานกลาง พื้นที่ส่วนใหญ่พบในสภาพ

               การใช้ที่ดินเป็นพื้นที่ท าการเกษตร ที่มีความสามารถในการอุ้มน้ าปานกลาง ถึง ดี ห่างจากล าน้ าและคลอง
               ชลประทาน 500  ถึง 1500  เมตร มีเนื้อที่ 100,331,858 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 31.35  ของพื้นที่ประเทศ โดยใน

               ภาคเหนือจังหวัดที่มีพื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งปานกลางมากที่สุด คือ จังหวัด
               นครสวรรค์ มีเนื้อที่ 3,112,588 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของพื้นที่ประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจังหวัดที่มี

               พื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งปานกลางมากที่สุด คือ จังหวัดนครราชสีมา มีเนื้อที่

               6,109,866 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.90 ของพื้นที่ประเทศ ภาคกลางจังหวัดที่มีพื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อ
               การเกิดความแห้งแล้งปานกลางมากที่สุด คือ จังหวัดสุพรรณบุรี มีเนื้อที่ 2,176,275 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.68

               ของพื้นที่ประเทศ ภาคตะวันออกจังหวัดที่มีพื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งปานกลาง
               มากที่สุด คือ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่ 1,605,197 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.50 ของพื้นที่ประเทศ และ ภาคใต้

               จังหวัดที่มีพื้นที่ด้านกายภาพมีความเสี่ยงต่อการเกิดความแห้งแล้งปานกลางมากที่สุด คือ จังหวัด

               นครศรีธรรมราช มีเนื้อที่ 2,238,205 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.70 ของพื้นที่ประเทศ
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97