Page 87 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 87

77



                         การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งด้านอุตุนิยมวิทยา  โดยหาความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระหว่างพื้นที่แห้ง

               แล้งตามปริมาณน้ าฝน จ านวนวันที่ฝนตก และ พื้นที่แห้งแล้งตามค่าดัชนีความแห้งแล้งทางการเกษตร และ
               ท าการจ าแนกออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้

                         1)  สภาพทางอุตุนิยมวิทยามีความเสี่ยงภัยแล้งสูง  หมายถึง พื้นที่ที่มีความเสี่ยงจากการขาดแคลน

               ความชื้นอันเกิดจากการขาดแคลนปริมาณฝน และ จ านวนวันที่ฝนตกมีน้อย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ไม่สามารถท าการ
               เพาะปลูกพืชได้

                         2)  สภาพทางอุตุนิยมวิทยามีความเสี่ยงภัยแล้งปานกลาง หมายถึง หมายถึง พื้นที่ที่มีความเสี่ยงจาก
               การขาดแคลนความชื้นอันเกิดจากการขาดแคลนปริมาณฝน และ จ านวนวันที่ฝนตกมีน้อย จนส่งผลกระทบต่อการ

               เจริญเติบโตของพืช
                         3)  สภาพทางอุตุนิยมวิทยามีความเสี่ยงภัยแล้งน้อย หมายถึง พื้นที่ที่มีความเสี่ยงจากการขาดแคลน

               ความชื้นไม่รุนแรง มีผลกระทบน้อย ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต

                         จากการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงแล้งด้านอุตุนิยมวิทยา พบว่า ประเทศไทย มีความเสี่ยงภัยแล้งด้าน
               อุตุนิยมวิทยาในระดับปานกลางคิดเป็นเนื้อที่ 266.26 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 83.01 ของพื้นที่ประเทศ และมี

               ความเสี่ยงภัยแล้งด้านอุตุนิยมวิทยาในระดับสูง คิดเป็นเนื้อที่ 54.49  ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.99  ของพื้นที่

               ประเทศ (ตารางที่ 17 และ ภาพที่ 18) โดยพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยแล้งด้านอุตุนิยมวิทยาในระดับสูงส่วนใหญ่
               พบในภาคกลางของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี เป็นต้น

               ตารางที่ 17 พื้นที่เสี่ยงแล้งด้านอุตุนิยมวิทยา

                                                                            เนื้อที่ (ล้านไร่)
                         ภาค                  จังหวัด          เสี่ยงแล้ง      เสี่ยงแล้ง        รวม

                                                               ปานกลาง            สูง

                ภาคเหนือ                เชียงใหม่                11.72           0.85           12.57
                                        เชียงราย                 7.30             -             7.30

                                        เพชรบูรณ์                7.31            0.61           7.92

                                        แพร่                     4.09             -             4.09
                                        แม่ฮ่องสอน               4.34            3.59           7.93

                                        ก าแพงเพชร               5.36            0.02           5.38

                                        ตาก                      7.29            2.96           10.25
                                        นครสวรรค์                4.25            1.75           6.00

                                        น่าน                     3.20            3.97           7.17
                                        พะเยา                    3.95            0.01           3.96

                                        พิจิตร                   2.83             -             2.83

                                        พิษณุโลก                 6.75            0.01           6.76
                                        ล าปาง                   7.83             -             7.83
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92