Page 109 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 109

99



               4.4  พื้นที่ประสบภัยแล้ง
                     จากการส ารวจพื้นที่เกษตรที่จะประสบความแห้งแล้งโดยการสุ่มตรวจจากแผนที่ทีได้จากการวิเคราะห์

               ข้อมูลในการจัดท าแผนที่คาดการณ์พื้นที่เกษตรที่จะประสบความแห้งแล้งในช่วงกลางเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557
               ถึง กลางเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 โดยท าการส ารวจและสอบถามเกษตรกร จ านวน 120 จุดส ารวจ ในพื้นที่
               30 จังหวัด (ภาพที่ 22 และ ตารางผนวกที่ 1) ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ก าแพงเพชร ขอนแก่น ชัยนาท ชัยภูมิ
               ตาก นครนายก นครปฐม นครสวรรค์ น่าน บุรีรัมย์ ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา พิจิตร พิษณุโลก

               เพชรบุรี แพร่ ราชบุรี ศรีสะเกษ สระแก้ว สระบุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี สุรินทร์ หนองบัวล าภู อ านาจเจริญ
               อุดรธานี อุทัยธานี และอุบลราชธานี พบว่า พื้นที่ที่ประสบภัยแล้งส่วนใหญ่เป็นนาข้าว และพืชไร่ ได้แก่ อ้อย
               มันส าปะหลัง
                     ช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 เมษายน พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นช่วงของการเกิดภัยแล้ง ทางกระทรวง

               เกษตรและสหกรณ์ได้มีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) ใน พ.ศ.
               2558 โดยประเทศไทยมีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบภัยแล้งด้านการเกษตรจ านวน 36 จังหวัด 230 อ าเภอ 1,266
               ต าบล 11,389 หมู่บ้าน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร ตาก ก าแพงเพชร แพร่ น่าน ล าปาง
               อุตรดิตถ์ สกลนคร ชัยภูมิ มหาสารคาม นครราชสีมา บุรีรัมย์ ขอนแก่น อ านาจเจริญ กาฬสินธุ์  สระแก้ว

               หนองบัวลาภู  ลพบุรี  นครสวรรค์  ชัยนาท  จันทบุรี  ราชบุรี  กาญจนบุรี  ชลบุรี  สระบุรี  ตราด  เพชรบุรี
               ประจวบคีรีขันธ์ สตูล ตรัง กระบี่ พังงา และนครศรีธรรมราช
                     จากการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) ใน พ.ศ. 2558 พบว่า

               มีพื้นที่ท าการเกษตรได้รับความเสียหายจากภัยแล้งเพียง  10  จังหวัด  ได้แก่  จังหวัดนครสวรรค์  ขอนแก่น
               มหาสารคาม สกลนคร นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยภูมิ ชัยนาท ลพบุรี และสุพรรณบุรี โดยแบ่งช่วงเวลาของการเกิด
               ภัยออกเป็น 2 ช่วงภัย ดังนี้
                     4.4.1   ช่วงภัยเดือนตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2557 พบว่า มีพื้นที่ท าการเกษตรได้รับความเสียหายจากภัย
               แล้ง จ านวน 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ ขอนแก่น มหาสารคาม สกลนคร นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยภูมิ

               ชัยนาท ลพบุรี และสุพรรณบุรี ส ารวจพบความเสียหายแล้ว เกษตรกร 133,869 ราย พื้นที่เสียหาย 1.25 ล้านไร่
               แบ่งเป็น ข้าว 1.19 ล้านไร่ พืชไร่และอื่นๆ 0.06 ล้านไร่ คิดเป็นวงเงินช่วยเหลือ 1,398.57 ล้านบาท
                     4.4.2   ช่วงภัยเดือนมกราคม – 30 เมษายน พ.ศ. 2558  มีพื้นที่การเกษตรประสบภัยแล้ง จ านวน 1 จังหวัด

               ได้แก่ จังหวัดชัยนาท (อ าเภอสรรคบุรี) โดยส ารวจพบว่า เกษตรกรได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง จ านวน 773 ราย มี
               พื้นที่ท าการเกษตรเสียหายโดยเฉพาะพืชไร่ จ านวน 7,925.75 ไร่ คิดเป็นวงเงินช่วยเหลือ 9.10 ล้านบาท
                           เมื่อท าการเปรียบเทียบรายชื่อจังหวัดที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดท าแผนที่คาดการณ์ความ
               แห้งแล้งในพื้นที่ท าการเกษตรว่าจะประสบกับความแห้งแล้งในช่วงสิ้นฤดูฝน กลางเดือนตุลาคม จนถึงก่อนช่วงฤดูฝน

               ในเดือนพฤษภาคม กับการประกาศของโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ใน พ.ศ. 2558 ในเรื่องของเขตการให้
               ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) และจังหวัดที่ประสบภัยแล้ง ในช่วงของการเกิดภัยแล้ง
               เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 เมษายน พ.ศ. 2558 พบว่า
                           1)  รายชื่อตรงประกาศ หมายถึง รายชื่อจังหวัดที่ได้ประกาศเป็นเขตการให้ความช่วยเหลือ

               ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน  (ภัยแล้ง) และรายชื่อจังหวัดที่ประสบภัยแล้งในช่วงของการเกิดภัยแล้งเดือน
               ตุลาคม พ.ศ. 2557  –  30  เมษายน  พ.ศ. 2558 ตรงกับรายชื่อจังหวัดที่ได้จากการวิเคราะห์คาดการณ์ว่าจะ
               ประสบกับความแห้งแล้ง จ านวน 35 จังหวัด คิดเป็นร้อยละ 60.34 ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ สุโขทัย พิษณุโลก
               พิจิตร ตาก ก าแพงเพชร แพร่ น่าน ล าปาง อุตรดิตถ์ สกลนคร ชัยภูมิ มหาสารคาม นครราชสีมา บุรีรัมย์
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114