Page 30 - Management_agricultural_drought_2561
P. 30

24



               ตารางที่ 2.6 หนวยหินทางอุทกธรณีวิทยาในกลุมหินอุมน้ําประเภทหินรวนของประเทศไทย (ตอ)
                               หนวยหินทาง       หนวยหินทาง
                    อายุ                                               ลักษณะของชั้นน้ําในพื้นที่ตางๆ
                                ธรณีวิทยา       อุทกธรณีวิทยา
                Miocene to  Younger           ชั้นน้ําเชียงราย   1.  พื้นที่ภาคเหนือ แหลงน้ําระดับตื้นแผเปนพื้นที่
                Pleistocene  Terrace          Chiangrai          บริเวณกวางตามแองตางๆ ในพื้นที่ภาคเหนือ เชน
                              Deposits        Aquifers (Qcr)     แองแมจัน แองเชียงราย แองแมสรวย  แองพะเยา

                                                                 แองเชียงใหม แองลําปาง แองแพร เปนตน
                                                                 2.  พื้นที่ภาคกลางตอนบน แหลงน้ําระดับตื้น แผ
                                                                 เปนพื้นที่บริเวณกวางเฉพาะพื้นที่ขอบแอง  ดาน

                                                                 เหนือ ของพื้นที่ราบภาคกลางตอนบนโดยเฉพาะใน
                                                                 บริเวณเขต จ. สุโขทัย บางสวน  ของ จ. พิษณุโลก
                                                                 และพื้นที่ดานทิศตะวันตกของ จ. กําแพงเพชร
                                                                 3.  พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หมวดหินน้ํามูล

                                                                 เปนแหลงน้ําพุตามขอบแองดานทิศใตของขอบแอง
                                                                 โคราช ตั้งแตอําเภอชุมพวงของนครราชสีมา จนถึง
                                                                 จ. อุบลราชธานี บางสวนที่รองรับดวยหมวดหิน
                                                                 มหาสารคาม น้ําบาดาลในชั้นกรวดทรายมักจะเค็ม

                Pleistocene  Old terrace      ชั้นน้ําเชียงใหม       เปนชั้นน้ําบาดาลในชั้นกรวดทราย ทําใหเกิด
                              deposits        Chiangmai          เปนชั้นน้ําบาดาลหนา (multi-aquifers)  เจาะ
                                              Aquifers (Qcm)     พบในพื้นที่ตางๆทั่วประเทศ เชน
                                                                 1.  พื้นที่ภาคเหนือ ตามแองตางๆ พื้นที่ใจกลาง

                                                                 แองมักปดทับดวยหินตะกอนที่มีอายุออนกวา
                                                                 2.  พื้นที่ภาคกลางตอนบนและตอนลาง มักเจาะ
                                                                 พบชั้นน้ํานี้แผกระจายเปนพื้นที่บริเวณกวางใน

                                                                 บริเวณพื้นที่ราบของแอง
                                                                 3.   พื้นที่ภาคใต  เจาะพบในบริเวณพื้นที่ราบ
                                                                 ชายฝงทะเล
                                                                 4.  พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก หมวด
                                                                 หินคูเมือง และหมวดหินภูเขาทอง

                Tertiary      Mae Sot         ชั้นน้ําแมสอด         เปนชั้นน้ําบาดาลในแหลงรวนกึ่งแข็งตัว
                              Formation       Mae Sot            (semi-consolidated rocks) เจาะพบตามแอง
                                              Aquifers (Tms)     ตางๆ ในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลางตอนบน และ

                                                                 ภาคใต ในแองภาคกลางตอนลาง หินชุดนี้อยูลึก
                                                                 มากกวา 500  เมตร  ดานบนปดทับดวยตะกอน
                                                                 หินรวนที่มีอายุออนกวา
               ที่มา : กรมทรัพยาการน้ําบาดาล (มปป)
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35