Page 27 - Management_agricultural_drought_2561
P. 27

21



                                แมน้ําสายบุรี  ตนน้ําเกิดจากเทือกเขาสันกาลาคีรีระหวางเขาคุลากาโอกับเขาตาโบใน
               อําเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ไหลขึ้นไปทางเหนือผานอําเภอศรีสาคร อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส และ

               ไหลผานเขาไปในเขตอําเภอรามัน จังหวัดยะลา และไหลลงสูอาวไทยที่อําเภอสายบุรีจังหวัดปตตานี มีความ
               ยาวตลอดลําน้ําประมาณ 186 กิโลเมตร
                        2.6.2  แหลงหรือแองน้ําบาดาล
                            แหลงน้ําบาดาลของประเทศไทย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

                            1)    แหลงน้ําบาดาลในกลุมหินอุมน้ําประเภทรวน ซึ่งเรียกวา แองน้ําบาดาล (groundwater
               basin)  น้ําบาดาลในตะกอนหินรวนนับเปนแหลงน้ําบาดาลที่สําคัญหรือประมาณรอยละ  90  ของแหลงน้ํา
               บาดาลที่พัฒนาขึ้นมาใชได เชน บริเวณที่ราบลุมเจาพระยา และแองเชียงใหม-ลําพูน เปนตน ตะกอนหินรวน
               ของประเทศไทยมีหลายอายุตั้งแตยุคปจจุบัน ยุค Pleistocene และ ยุค Tertiary มีการกําเนิดหลายรูปแบบ

               ทําใหคุณสมบัติการกักเก็บและการใหน้ําบาดาลแตกตางกันออกไป
                            2)  แหลงน้ําบาดาลในกลุมหินอุมน้ําประเภทหินแข็ง (groundwater in rock source area)
               คุณสมบัติการกักเก็บน้ํา บาดาลในชั้นหินแข็งขึ้นกับอยูอิทธิพลความพรุนทุติยภูมิในเนื้อหิน เชน โพรงของหินปูนใต
               ดิน รอยแตกในชั้นหินอันเกิดจากแนวรอยเลื่อนของหิน (fault zones) ระบบรอยแตกอันเกิดจากการปริในชั้นหิน

               (jointing systems) รอยแตกที่เกิดจากการโคงงอของชั้นหิน (folding) หรือรอยแตกที่เกิดจากการหดตัว (shrinkage
               cracks) ดังนั้นในหินแตละชนิดยอมมีแนวรอยแตกในรูปแบบที่แตกตางกัน หนวยหินทางอุทกธรณีวิทยาที่กักเก็บน้ํา
               บาดาลในหินแข็งที่พบในประเทศไทยมีหลายยุคตั้งแตปลายยุค Tertiary ไปจนถึงยุค Pre-Cambrian บอน้ําบาดาลใน

               พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไมนอยกวารอยละ 80 ที่เจาะและพัฒนาน้ําบาดาลจากชั้นหินแข็ง
                              สําหรับหนวยหินทางอุทกธรณีวิทยาตางๆ ทั้งในกลุมหินอุมน้ําประเภทหินรวนและกลุมหิน
               อุมน้ําประเภทหินแข็งของประเทศไทย ไดสรุปไวในตารางที่ 2.6 และ ตารางที่ 2.7 ตามลําดับ
                              แหลงหรือแองน้ําบาดาลที่สําคัญของประเทศไทยตามการแบงแองน้ําบาดาลของกรม
               ทรัพยากรน้ําบาดาล มีจํานวน 27  แอง แตละแองจะมีสภาพทางอุทกธรณีวิทยาที่แตกตางกัน คาดการณวา

               ปริมาณน้ําบาดาลในประเทศไทยมีจํานวน 32,761.78  ลานลูกบาศกเมตร แตหากจะพัฒนากลับขึ้นมาใชโดย
               ไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จึงกําหนดใหสามารถพัฒนานํากลับมาใชได 3,175 ลานลูกบาศกเมตรตอป
               โดยแองน้ําบาดาลสําคัญ 3  อันดับแรก คือ 1) แองเจาพระยา (เหนือ และใต) จํานวน 2,576  ลานลูกบาศก

               เมตรตอป 2) แองเชียงใหม/ลําพูน จํานวน 97  ลานลูกบาศกเมตรตอป 3) แองนครศรีธรรมราช จํานวน 84
               ลานลูกบาศกเมตรตอป
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32