Page 29 - Management_agricultural_drought_2561
P. 29

23




               ตารางที่ 2.6 หนวยหินทางอุทกธรณีวิทยาในกลุมหินอุมน้ําประเภทหินรวนของประเทศไทย (ตอ)

                               หนวยหินทาง       หนวยหินทาง
                    อายุ                                               ลักษณะของชั้นน้ําในพื้นที่ตางๆ
                                ธรณีวิทยา       อุทกธรณีวิทยา
                Quaternary  Recent and        Rayong             1.  พื้นที่ภาคใต โดยสวนใหญเปนชั้นน้ําในทราย
                              Old Beach       Aquifers (Qry)     ชายหาดบางๆ ความหนาไมเกิน 10  เมตร  น้ํา

                              Sand                               บาดาลจืดมักลอยตัวอยูเหนือชั้นน้ําเค็ม  แตบาง
                                                                 พื้นที่อาจพบแนว  old beach sand  เปนชั้น
                                                                 ทรายหนา บางแหงเกินกวา 50  เมตร  ทําใหน้ํา

                                                                 บาดาลจืดปริมาณสูง เชน  ต.บางเบิด อ.บาง
                                                                 สะพาน ( ใหน้ํา < 20 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง )
                                                                 old beach sand ตรงบริเวณสนามบิน จ.ภูเก็ต
                                                                 และหลายพื้นที่ใน จ.นราธิวาส

                                                                 2.  พื้นที่ภาคตะวันออก เปนแหลงน้ําบาดาลระดับตื้น
                                                                 ที่ตีแผกวางในพื้นที่ชายฝงหลายแหง  เชน บริเวณ
                                                                 ตั้งแตอางศิลา  จนถึงบริเวณหาดผาแดง บริเวณหาด
                                                                 พัทยา-นาจอมเทียน บริเวณชายหาดของสัตหีบ บริเวณ

                                                                 แองบานคาย และหาดบานเพ-แมพิมพ ของ จ. ระยอง
                                                                 อาวคุงกระเบน อ. ทาใหม  บริเวณชายฝงทะเลตั้งแต
                                                                 จ. ตราด ถึง อ. หาดเล็ก เปนตน
                Quaternary  Colluvail         ชั้นน้ําพนัสนิคม       เปนชั้นบาดาลในแหลงหินรวนที่หนา  เกิด

                              deposits        Phanut Nikhom      ตามพื้นที่ที่ลาดเอียงเชิงเขาในทุกพื้นที่ของ
                                              Aquifers (Qpn)     ประเทศ  โดยสวนใหญมักจะตองเจาะบอน้ํา
                                                                 บาดาลระดับลึก แตไดน้ําบาดาลปริมาณจํากัด

                                                                 เนื่องจากสวนประกอบสวนใหญเปนดินเหนียว
                                                                 จากการผุพังของหินแข็ง
                Quaternary  Eolian            Sand Dune              เปนชั้นบาดาลระดับตื้นตามเนินทรายลมพัด
                              deposits        Aquifers           พา  พบเฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                                                 โดยเฉพาะอยางยิ่ง  ในบริเวณพื้นที่ใจกลางแอง
                                                                 ของแองโคราช โดยสวนใหญบอน้ําบาดาลที่ไดน้ํา
                                                                 จากหินชุดนี้จะเจาะลึกไมเกิน  40  เมตร หาก
                                                                 เจาะลึกมากๆ มักจะไดน้ําเค็ม
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34