Page 52 - น้ำท่วมซ้ำซาก 7 จังหวัดภาคเหนือ ปรับปรุงปี2557
P. 52

39


                       6.1.4 จังหวัดเพชรบูรณ์ พบพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากทั้งหมด 455,847 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก

               บ่อยครั้ง มีน้้าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี จ้านวน 337,275 ไร่ รองลงมาได้แก่ พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นครั้ง
               คราว มีน้้าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี จ้านวน 188,572 ไร่

                       6.1.5  จังหวัดแม่ฮ่องสอน  พบพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากทั้งหมด 692  ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก

               เป็นครั้งคราว มีน้้าท่วมขังไม่เกิน 3  ครั้งในรอบ 10  ปี จ้านวน 430  ไร่  รองลงมาได้แก่  พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก
               บ่อยครั้ง มีน้้าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี จ้านวน 262 ไร่

                       6.1.6  จังหวัดล้าพูน พบพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากทั้งหมด 8,944  ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็น
               ครั้งคราว มีน้้าท่วมขังไม่เกิน 3  ครั้งในรอบ 10  ปี จ้านวน 8,770  ไร่ รองลงมาได้แก่ พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก

               บ่อยครั้ง มีน้้าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี จ้านวน 174 ไร่
                       6.1.7 จังหวัดอุทัยธานี พบพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากทั้งหมด 139,660 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก

               บ่อยครั้ง มีน้้าท่วมขัง 4-7  ครั้งในรอบ 10  ปี จ้านวน 94,333 ไร่ และพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นครั้งคราว มีน้้า

               ท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี จ้านวน 45,327 ไร่
               6.2 ข้อเสนอแนะ

                       น้้าท่วมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดได้ แต่สามารถหาวิธีลด

               ความรุนแรงและบรรเทาผลกระทบและความสูญเสียที่จะเกิดได้ โดยมาตรการป้องกันความเสียหายและ
               บริหารจัดการน้้าท่วม เป็นการพยายามเรียนรู้และเข้าใจในผลกระทบจากน้้าท่วมที่มีต่อชุมชน สังคม เศรษฐกิจ

               ที่มีความเกี่ยวข้องกับผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณลุ่มน้้าและพื้นที่น้้าท่วมถึง  แนวทางการป้องกันความเสียหาย
               จากน้้าท่วมและการบริหารจัดการน้้าท่วมประกอบไปด้วย มาตรการที่น้าสิ่งก่อสร้างมาใช้ลดขนาดความรุนแรง

               ของน้้าท่วม เช่น การปรับปรุงสภาพล้าน้้า การใช้อ่างเก็บน้้า เขื่อนและพนังกั้นน้้า เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี
               มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างซึ่งประกอบไปด้วยมาตรการส้าหรับการป้องกันความเสียหายและการบรรเทาทุกข์

               เช่น  การวางผังเมือง  การพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วม ซึ่งโดยทั่วไปควรใช้มาตรการทั้งสองอย่างร่วมกัน

               เพื่อประสิทธิภาพในการบรรเทาปัญหาน้้าท่วมที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้การส้ารวจข้อมูลความเสียหายจากภัย
               น้้าท่วมเป็นสิ่งที่ต้องท้าให้เสร็จก่อนการวางแผน เพื่อป้องกันความเสียหายจากน้้าท่วม และสิ่งที่ส้าคัญก็คือการ

               ปรับตัวให้เข้ากับสภาพน้้าท่วม เช่น การท้าคันดินเพื่อป้องกันน้้าท่วม การขุดคู/คลอง  เพื่อระบายน้้าออกจาก
               พื้นที่  ซึ่งต้องตระหนักว่าน้้าท่วมเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หากอาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้้าหรือชายฝั่งแม่น้้าและ

               ยอมรับว่าจะต้องเผชิญหน้ากับน้้าท่วมเป็นประจ้า ดังนั้นการให้ข้อมูลและความรู้เรื่อง  น้้าท่วมแก่ประชาชนจึง

               เป็นสิ่งที่จ้าเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้สามารถรับมือกับปัญหาน้้าท่วมได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับระดับน้้า วิธีการจัดการที่
               อยู่อาศัย พื้นที่ท้าการเกษตร การปรับเปลี่ยนฤดูกาลเพาะปลูกโดยเลื่อนปลูกข้าวให้เร็วขึ้น การใช้พันธุ์ข้าวอายุ

               สั้นในการท้านาครั้งที่ 2  รวมถึงการเปลี่ยนชนิดพืชปลูกให้ทนต่อสภาพน้้าท่วมขัง ก็จะช่วยบรรเทาความ
               เสียหายจากภัยน้้าท่วมได้ในระดับหนึ่ง
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57