Page 49 - น้ำท่วมซ้ำซาก 7 จังหวัดภาคเหนือ ปรับปรุงปี2557
P. 49

37


                      5.4.10  การพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วมทั้งก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และภายหลังการเกิดภัย

               ทั้งนี้ต้องติดตั้งระบบ Real  Time  Operation  เพื่อติดตามและประเมินสถานการณ์ ณ เวลาจริง รวมทั้งใช้
               ระบบ GIS  และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูงมาช่วยในการแสดงขอบเขตและระดับความลึก

               ของพื้นที่น้้าท่วม รวมทั้งติดตั้งระบบสื่อสารจาก Operating room ของลุ่มน้้าใหญ่ไปลุ่มน้้าย่อย เพื่อกระจาย

               ข่าวที่ทันเหตุการณ์ และติดตั้งเครื่องรับวิทยุประจ้าหมู่บ้านเพื่อรับฟังข่าวในสภาวะเตือนภัยและฉุกเฉิน
                      5.4.11 การปรับตัวในการเพาะปลูกข้าวโดยเน้นข้าวนาปรังเป็นหลักท้าให้สามารถท้าการเพาะปลูกได้

               2 ครั้งต่อปี ทั้งนี้การปลูกข้าวครั้งที่ 1 จะเริ่มหลังจากที่ปริมาณน้้าลดลงตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน/ธันวาคมจนถึง
               เดือนมีนาคม/เมษายน หลังจากนั้นจะท้านาครั้งที่ 2 ทันที เป็นต้น

                      5.4.12  การปรับเปลี่ยนพื้นที่วิฤตน้้าท่วมซ้้าซากให้เป็นพื้นที่พัฒนาเพื่อกิจกรรมการใช้ประโยชน์
               เฉพาะอย่าง โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตรที่ประสบปัญหาดังกล่าวควรพัฒนาเป็นพื้นที่ท้าการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า

               ทั้งนี้ภาครัฐจะต้องเข้าไปพัฒนาระบบ ส่งเสริมและให้ความรู้ในกิจกรรมใหม่ๆ ตลอดจนให้ประชาชนหรือ

               องค์กรในท้องถิ่นร่วมบริหารจัดการทรัพยากรด้วย
               5.5  มาตรการการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณพื นที่น ้าท่วมซ ้าซาก

                         5.5.1 พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นประจ้าโดยประสบน้้าท่วมขัง 8-10 ครั้ง ในรอบ 10 ปี และมีความเสี่ยงสูง

               ต่อการลงทุนพัฒนาทางการเกษตร เนื่องจากพื้นที่มีสภาพเป็นที่ราบเรียบถึงเกือบราบเรียบ มีน้้าแช่ขังประมาณ
               4-5  เดือนในรอบปี ดังนั้นมาตรการในการจัดการพื้นที่ดังกล่าวจึงควรมีการศึกษาการเกิดน้้าท่วม ช่วงของ

               การเกิดน้้าท่วม และปริมาณการเกิดน้้าท่วมในแต่ละครั้ง เพื่อก้าหนดรูปแบบ ช่วงการเพาะปลูกและระบบ

               การเพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และช่วงเวลาการเกิดน้้าท่วมเพื่อลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
               ร่วมกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อช่วยในการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและใช้เป็นแนวก้าแพงธรรมชาติป้องกัน

               น้้าท่วม
                        5.5.2 พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นประจ้าโดยประสบน้้าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี และเสี่ยงปานกลาง

               ต่อการลงทุนพัฒนาทางการเกษตร เนื่องจากพื้นที่มีสภาพราบเรียบเกือบราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีน้้า

               แช่ขังประมาณ 4-5 เดือนในรอบปี เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเสี่ยงต่อการลงทุนในการพัฒนาการเกษตรปานกลาง
               ดังนั้นจึงควรเร่งพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวโดยการ ก้าหนดรูปแบบและระบบการเพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับ

               สภาพพื้นที่ ศึกษาและคัดเลือกพันธุ์พืช การปรับปรุงบ้ารุงดินร่วมกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อช่วยในการป้องกัน
               การชะล้างพังทลายของดินและใช้เป็นแนวก้าแพงธรรมชาติป้องกันน้้าท่วม

                      5.5.3 พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นประจ้าโดยประสบน้้าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี สภาพพื้นที่

               เป็นที่ราบเรียบ เกือบราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีน้้าแช่งขังประมาณ 4-5 เดือนในรอบปี และมีความเสี่ยง
               ต่้าต่อการลงทุนพัฒนาทางการเกษตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นนาข้าว ดังนั้นจึงควรมีมาตรการเร่งรัดเพื่อจัดการพื้นที่

               ดังกล่าวโดยด่วน เช่น ศึกษาพฤติกรรมการเกิดน้้าท่วมและปริมาณน้้าที่ท่วมในแต่ละครั้ง ก้าหนดรูปแบบและ
               ระบบการเพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและระบบการผลิตการเกษตรเพื่อให้

               เป็นการเกษตรแบบผสมผสานร่วมกับการอนุรักษ์และปรับปรุงบ้ารุงดิน และการปลูกหญ้าแฝกเพื่อช่วย
               ในการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและใช้เป็นแนวก้าแพงธรรมชาติป้องกันน้้าท่วม
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54