Page 17 - น้ำท่วมซ้ำซาก 7 จังหวัดภาคเหนือ ปรับปรุงปี2557
P. 17

8


               ท าให้มีน้ าและอากาศแทรกซึมลงไปได้ ท าให้เพิ่มอินทรียวัตถุผสมกับวัตถุต้นก าเนิดดินมากขึ้น ดินกลุ่มภูเขานี้

               มีสีน้ าตาล น้ าตาลปนแดง  มีทั้งดินเนื้อหยาบและเนื้อละเอียด อายุมากบ้างน้อยมาก พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่เหมาะสม
               กับการเกษตรควรที่จะสงวนไว้เป็นพื้นที่ป่า

               2.5 ทรัพยากรน้้าและแหล่งน้้า

                       ภาคเหนือมีแหล่งน้ าธรรมชาติที่ส าคัญ บริเวณเทือกเขาของภาคจะเป็นแหล่งก าเนิดของแม่น้ าที่ส าคัญ
               เช่น ปิง วัง ยม น่าน ซึ่งไหลมารวมกันที่จังหวัดนครสวรรค์ เป็นแม่น้ าเจ้าพระยา โดยแบ่งออกเป็น 9  ลุ่มน้ าหลัก
               ประกอบไปด้วย ลุ่มน้ าปิง ลุ่มน้ าวัง ลุ่มน้ ายม ลุ่มน้ าน่าน ลุ่มน้ าโขงตอนบน ลุ่มน้ าสาละวิน ลุ่มน้ ากก ลุ่มน้ า
               สะแกกรัง และลุ่มน้ าป่าสัก ส่วนการพัฒนาแหล่งน้ าชลประทานของภาคเหนือส่วนใหญ่เพื่อน ามาใช้ในด้าน

               การเกษตร การอุปโภคและบริโภคต่างๆ โดยมีการพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการเกษตรในลุ่มน้ าที่ส าคัญ ดังต่อไปนี้
                       2.5.1  ลุ่มน้้าปิง  มีพื้นที่ลุ่มน้ า 33,898  ตารางกิโลเมตร  ครอบคลุมพื้นที่ 5  จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่
               ล าพูน ตาก ก าแพงเพชร และนครสวรรค์  ลุ่มน้ านี้แบ่งเป็น 21  ลุ่มน้ าสาขา ลุ่มน้ าปิงมีปริมาณน้ าท่าเฉลี่ย

               5,877  ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีพื้นที่ชลประทาน 1,942,927  ไร่ มีเขื่อนกักเก็บน้ าจ านวน 3  เขื่อน ได้แก่
               เขื่อนแม่งัด เขื่อนแม่กวง และเขื่อนภูมิพล
                       2.5.2 ลุ่มน้้าวัง มีพื้นที่ลุ่มน้ า 10,791 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 2 จังหวัด ได้แก่ ล าปางและ
               ตาก มีต้นก าเนิดแม่น้ าบริเวณเทือกเขาทางตอนเหนือของจังหวัดล าปางแล้วไหลลงสู่ทางใต้ โดยไปบรรจบ
               กับน้ าโขง บริเวณทางเหนือของอ าเภอบ้านตาก จังหวัดตาก กลายเป็นแม่น้ าปิงไหลลงสู่แม่น้ าเจ้าพระยาต่อไป

               ลุ่มน้ าวังมีเขื่อนเก็บกักน้ าจ าวน 2 เขื่อน ได้แก่ เขื่อนกิ่วลมละเขื่อนแม่จาง
                       2.5.3  ลุ่มน้้ายม  มีพื้นที่ลุ่มน้ า 23,616  ตารางกิโลเมตร  ครอบคลุมพื้นที่ 9  จังหวัด ได้แก่ แพร่
               นครสวรรค์ พะเยา น่าน ล าปาง ก าแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก และพิจิตร ลุ่มน้ านี้แบ่งออกเป็น 12 ลุ่มน้ า

               สาขา  อยู่ทางทิศตะวันออกของลุ่มน้ าปิงและลุ่มน้ าวัง มีพื้นที่ชลประทาน 994,205  ไร่ และ มีเขื่อนเก็บกักน้ า
               จ านวน 1  เขื่อน ได้แก่ เขื่อนแม่มอก แต่ปัจจุบันลุ่มน้ ายมยังไม่มีอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่จึงท าให้เกิดปัญหา
               การขาดแคลนน้ าในฤดูแล้ง
                       2.5.4  ลุ่มน้้าน่าน  มีพื้นที่ลุ่มน้ า 34,330  ตารางกิโลเมตร  ครอบคลุมพื้นที่ 6  จังหวัด ได้แก่ น่าน

               อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ และ นครสวรรค์ ลุ่มน้ านี้แบ่งเป็น 17 ลุ่มน้ าสาขา ปัจจุบันมีเขื่อนเก็บกักน้ า
               จ านวน 1  เขื่อน ได้แก่ เขื่อนสิริกิติ์ ซึ่งเป็นเขื่อนอเนกประสงค์ปิดกั้นแม่น้ าน่าน ที่อ าเภอท่าปลา จังหวัด
               อุตรดิตถ์ มีความจุใช้งาน 6,660 ล้านลูกบาศก์เมตร
                       2.5.5 ลุ่มน้้าโขง เป็นลุ่มน้ าระหว่างประเทศ มีพื้นที่ลุ่มน้ าทั้งสิ้น 795,000 ตารางกิโลเมตร แต่พื้นที่

               ลุ่มน้ าส่วนที่เป็นของไทยมีเพียง 57,422 ตารางกิโลเมตร เป็นลุ่มน้ าในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
               ของประเทศไทย ในภาคเหนือครอบคลุมพื้นที่ 2           จังหวัดได้แก่ พะเยา และเชียงราย ส่วนใน
               ภาคตะวันออกเฉียงเหนือครอบคลุมพื้นที่ 7  จังหวัด ได้แก่ หนองคาย สกลนคร นครพนม มุกดาหาร เลย
               อุดรธานี และอุบลราชธานี  ลุ่มน้ านี้แบ่งเป็น 38  ลุ่มน้ าสาขา และมีเขื่อน  กักเก็บน้ าจ านวน 3  เขื่อน ได้แก่

               เขื่อนห้วยหลวง เขื่อนน้ าอูน และเขื่อนน้ าพุง
                       2.5.6 ลุ่มน้้าสาละวิน  เป็นลุ่มน้ าระหว่างประเทศ มีพื้นที่ลุ่มน้ าทั้งสิ้น 29,500 ตารางกิโลเมตร แต่พื้นที่
               ลุ่มน้ าส่วนที่เป็นของไทย 17,920  ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 3  จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน ตาก และ

               เชียงใหม่  ลุ่มน้ านี้แบ่งเป็น 17  ลุ่มน้ าสาขา เป็นลุ่มน้ าที่อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทย ลักษณะ
               ลุ่มน้ าแคบ เรียวยาว สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นภูเขาสูง แม่น้ าส่วนใหญ่จะไหลตามแนวช่องระหว่างเขา ล าน้ า
               ที่ส าคัญในลุ่มน้ านี้ ได้แก่  แม่น้ ายวม แม่ปาย แม่กลอง แม่เงา  แม่สุรินทร์ แม่ริด น้ าของแม่ละมาด แม่สะเรียง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22