Page 11 - น้ำท่วมซ้ำซาก 7 จังหวัดภาคเหนือ ปรับปรุงปี2557
P. 11

3


                       1.5.3 การน้าเข้าข้อมูล น้าเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) และปัจจัยร่วมโดยท้าการเก็บข้อมูล

               ในรูป Digital โดยใช้โปรแกรม ArcGIS และ ArcView พิกัดอ้างอิงที่ใช้น้าเข้าข้อมูลใช้โครงสร้างแผนที่
               แบบ Universal Transverse Mercator (UTM) ซึ่งเป็นไปตามแผนที่ภูมิปะเทศของกรมแผนที่ทหาร

                       1.5.4  การวิเคราะห์พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) โดยวิธีการซ้อนทับ

               ข้อมูลหลายชั้น พร้อมด้วยเงื่อนไขตามที่ได้ก้าหนดไว้  โดยวิธีการก้าหนดค่าถ่วงน้้าหนักในแต่ละปัจจัย
               ที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องในการท้าให้เกิดน้้าท่วมซ้้าซาก  โดยให้น้้าหนักเรียงล้าดับตามความส้าคัญ

               จากมากไปน้อยร่วมกับการใช้ข้อมูลการส้ารวจข้อมูลระยะไกล  ซึ่งปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์และก้าหนด
               ขอบเขต ประกอบด้วย ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial  data)  ข้อมูลสถิติ (Statistic  data) และข้อมูลภาพถ่าย

               ดาวเทียม ได้แก่ พื้นที่น้้าท่วมจากภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงฤดูฝนในแต่ละปี ลักษณะภูมิสัณฐาน  ข้อมูลพื้นที่

               ราบน้้าท่วมถึง (Floodplain) ข้อมูลประวัติการเกิดอุทกภัยในประเทศไทย ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วม และ
               พื้นที่น้้าท่วมในอดีตที่ด้าเนินการโดยหน่วยงานต่างๆ

                         1.5.5  ส้ารวจข้อมูลภาคสนามโดยการสุ่มตรวจสอบในสภาพพื้นที่จริงเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของ
               ข้อมูลและปรับแก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่

                          1.5.6 การจัดท้าแผนที่แสดงขอบเขตพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากจ้าแนกตามชั้นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากของประเทศไทย

                       1.5.7 เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก
               1.6   ประโยชน์ที่ได้รับ

                       1.6.1 สามารถก้าหนดขอบเขตชั้นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากพร้อมจัดท้าฐานข้อมูลการเกิดน้้าท่วมในอดีต

               ของประเทศไทยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
                       1.6.2 ระดับชั้นของพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก สามารถใช้คาดการณ์พื้นที่น้้าท่วมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ท้าให้

               สามารถจัดเตรียมการเตือนภัยล่วงหน้าได้ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบและความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากการท้า

               การเกษตรในพื้นที่
                       1.6.3 ขอบเขตพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลในการวางแผนพัฒนาบริหารจัดการพื้นที่

               น้้าท่วมซ้้าซาก  และการเตือนภัยแก่เกษตรกรในการวางแผนเพาะปลูกพืช และการเก็บเกี่ยวผลผลิตล่วงหน้า
               ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบและลดความสูญเสียแก่ผลผลิตที่อาจจะเกิดขึ้นจากอุทกภัย
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16