Page 10 - น้ำท่วมซ้ำซาก 7 จังหวัดภาคเหนือ ปรับปรุงปี2557
P. 10

2


               1.2  วัตถุประสงค์

                      1.2.1  เพื่อประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และข้อมูลส้ารวจระยะไกลในการปรับปรุง
               ขอบเขตและฐานข้อมูลพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากให้เป็นปัจจุบัน

                      1.2.2  เพื่อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก
               1.3  ขอบเขตการด าเนินการ

                       ท้าการศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากโดยพิจารณาจากพื้นที่ราบลุ่มต่้าที่มีภูมิสัณฐานประเภทที่
               ราบน้้าท่วมถึง (Floodplain) ซึ่งเป็นที่ราบริมแม่น้้าหรือล้าธารและเป็นพื้นที่ที่ในฤดูฝนมักมีน้้าท่วมขังอยู่ใน

               พื้นที่เสมอ ร่วมกับการวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียมและฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่ที่เคยประสบอุทกภัย

               เปรียบเทียบในช่วงระยะเวลา 10  ปีที่ผ่านมา คือตั้งแต่ปี 2545  ถึงปี 2555  เพื่อก้าหนดขอบเขตพื้นที่น้้าท่วม
               ซ้้าซากบริเวณภาคเหนือ

               1.4  ระยะเวลาด าเนินการและพื้นที่ศึกษา

                       ระยะเวลาด าเนินการ  เริ่มต้น    ตุลาคม    พ.ศ. 2556
                                            สิ้นสุด    สิงหาคม   พ.ศ. 2557

                       พื้นที่ศึกษา         ภาคเหนือ ( 7  จังหวัด )

               1.5  ขั้นตอนและวิธีการด าเนินการ
                       1.5.1   ตรวจสอบเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวกับน้้าท่วมซ้้าซากในประเทศไทย สถิติของเหตุการณ์

               การเกิดอุทกภัยที่เคยเกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน

                       1.5.2  รวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมเอกสารและข้อมูลต่างๆ ในรูปรายงานและแผนที่ที่เกี่ยวข้อง
               กับการศึกษาพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดังนี้

                              - ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมซ้้าซากที่ด้าเนินการโดยกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2548

                              - ข้อมูลพื้นที่น้้าท่วมตั้งแต่ปี 2545-2555
                              - ข้อมูลสถิติทางอุตุนิยมวิทยา สถิติปริมาณน้้าฝนรายวัน รายปี จ้านวนวันที่ฝนตก อัตราการระเหย

               ของน้้า ความสามารถในการอุ้มน้้าของดิน ปริมาณน้้าท่าในพื้นที่ลุ่มน้้า ความสามารถในการรับน้้าของพื้นที่ลุ่มน้้า
               ลักษณะทางอุทกศาสตร์ของลุ่มน้้า สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน ความลาดเทของพื้นที่พิจารณาร่วมกับข้อมูล

               แวดล้อมที่เกี่ยวข้อง เช่น ปฏิทินการเพาะปลูกพืชและรูปแบบการเกษตรและและปริมาณน้้าในอ่างเก็บน้้า
               ขนาดใหญ่

                              - แผนที่การใช้ที่ดินระดับจังหวัด ปี พ.ศ. 2545 มาตราส่วน 1: 50,000 กรมพัฒนาที่ดิน

                              - แผนที่กลุ่มชุดดิน มาตราส่วน 1:50,000 กรมพัฒนาที่ดิน
                              - แผนที่ขอบเขตการปกครองระดับต้าบล มาตราส่วน 1:50,000 กรมพัฒนาที่ดิน

                              - แผนที่สภาพภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 กรมแผนที่ทหาร
                              - แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมสีผสม ต่างระบบ จากดาวเทียม LANDSAT 5 – TM และ

               ภาพถ่ายดาวเทียม RADARSAT -1 จากส้านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

               กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15