Page 9 - น้ำท่วมซ้ำซาก 7 จังหวัดภาคเหนือ ปรับปรุงปี2557
P. 9

1


                                                        บทที่ 1



                                                         บทน า


               1.1  หลักการและเหตุผล

                         น้้าท่วมหรืออุทกภัย เป็นภัยที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อประเทศอย่างมากไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ

               โดยรวมของประเทศ ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนโดยเฉพาะกับภาคการเกษตรซึ่งได้รับความเสียหาย

               เป็นจ้านวนมาก ปัจจุบันการเกิดอุทกภัยในประเทศไทย พบว่า เกิดขึ้นเป็นประจ้าทุกปีในทุกภาคของประเทศ
               และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นตามสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดย

               ไม่ค้านึงถึงสมดุลทางระบบนิเวศท้าให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยมีโอกาสเกิดขึ้นได้
               ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงต้นเดือนมกราคม และบางพื้นที่อาจประสบเหตุการณ์ดังกล่าวมากกว่า 1 ครั้งในรอบปี

                          ลักษณะของการเกิดน้้าท่วม มีความรุนแรงและมีรูปแบบต่างๆกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ

               และสภาพพื้นที่โดยการเกิดน้้าท่วมแบ่งออกได้เป็น 2  ลักษณะใหญ่ๆ คือ น้้าป่าไหลหลากหรือน้้าท่วมฉับพลัน
               มักเกิดขึ้นในที่ราบต่้าหรือที่ราบลุ่มบริเวณใกล้เชิงภูเขา เนื่องจากฝนตกหนักเหนือภูเขาต่อเนื่องเป็นเวลานาน

               โดยปริมาณน้้าจ้านวนมากเคลื่อนตัวอย่างรวดเร็วจากที่สูงลงสู่พื้นที่ต่้าก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและ
               ทรัพย์สินของประชาชน และส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศหากบริเวณดังกล่าวเป็นแหล่งเศรษฐกิจที่ส้าคัญ

               ส่วนลักษณะที่สอง ได้แก่ น้้าท่วมหรือน้้าท่วมขัง เป็นลักษณะของอุทกภัยที่เกิดขึ้นจากปริมาณน้้าสะสมจ้านวน

               มากที่ไหลบ่าในแนวระนาบจากที่สูงไปยังที่ต่้า หรือปริมาณจ้านวนมากที่เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องที่ไหลลงสู่
               ล้าน้้าหรือแม่น้้ามีปริมาณมากจนระบายลงสู่ลุ่มน้้าด้านล่างหรือออกสู่ปากน้้าไม่ทัน ท้าให้เกิดสภาวะน้้าเอ่อล้นตลิ่ง

               เข้าท่วมที่อยู่อาศัยและพื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหาย ถนน หรือสะพานอาจช้ารุด ทางคมนาคมถูกตัดขาด
               หรือเป็นสภาพน้้าท่วมขังในเขตเมืองใหญ่ที่เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบ

               การระบายน้้าไม่ดีพอ มีสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางระบายน้้าหรือเกิดน้้าทะเลหนุนสูงกรณีพื้นที่อยู่ใกล้ชายฝั่งทะเล

               โดยระดับความรุนแรงขึ้นอยู่กับระยะเวลาและระดับความสูงของน้้าที่ท่วมแช่ขัง
                         ในอดีตที่ผ่านมากรมพัฒนาที่ดินได้ด้าเนินการจัดท้าแผนที่น้้าท่วมซ้้าซาก ซึ่งใช้เป็นฐานข้อมูล

               ในการวางนโยบายการพัฒนาพื้นที่การเกษตรและแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินเชิงพื้นที่ซึ่งมีความถูกต้อง
               ในระดับหนึ่งแต่เนื่องจากในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินประกอบกับการเปลี่ยนแปลง

               สภาพภูมิอากาศในปัจจุบัน ท้าให้เกิดอุทกภัยขึ้นบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ดังนั้นการน้า

               เทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลการส้ารวจระยะไกล การใช้แบบจ้าลอง ข้อมูลทางสถิติ
               มาประยุกต์ใช้ในการจัดท้าฐานข้อมูลและปรับปรุงแผนที่น้้าท่วมซ้้าซากให้มีความทันสมัยเป็นปัจจุบันและ

               มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น เพื่อให้สามารถน้าไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาน้้าท่วมซ้้าซาก การเตรียมการ
               ป้องกันและเตือนภัย การวางแผนการเพาะปลูกก่อนการท้าการเกษตรซึ่งจะช่วยในการป้องกันและบรรเทา

               ความเสียหายจากอุทกภัยที่อาจจะเกิดขึ้นต่อไป
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14