Page 17 - น้ำท่วมซ้ำซาก 10 จังหวัดภาคเหนือ
P. 17

9



                   โซลิก (Red-yellow Podzolic soilz) และมักมีปฏิกิริยาเป็นกรดปานกลางจนถึงเป็นกรดจัด กลุ่มดิน

                   นี้เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดเนื้อหยาบหรือเป็นดินปนทราย จนถึงเป็นทรายจัด ดินในบริเวณนี้ส่วนมากปก
                   คลุมด้วยป่าแดง แต่ป่าถูกโค่นถางเพื่อท าไร่มากขึ้น  ท าให้เกิดปัญหาดินถูกชะล้างเสื่อมคุณภาพ ขาด

                   น้ าในฤดูแล้ง  มีการสูญเสียหน้าดินอย่างรวดเร็ว ไม่ควรปล่อยพื้นที่ให้ว่าง  ขณะที่ยังไม่ถึงฤดูปลูกพืช

                   การใช้ประโยชน์ต้องระมัดระวัง ควรมีการอนุรักษ์ดินให้มาก
                            2.4.3  ดินในบริเวณภูเขาและทิวเขาที่มีระดับแตกต่างกันมาก  ส่วนใหญ่เป็นภูเขาที่มีความ

                   ลาดชันสูง เฉลี่ยความสูงจากระดับน้ าทะเลเกิน 500  เมตรขึ้นไปจนถึง ยอดสูงสุดคือ ดอยอินทนนท์

                   ซึ่งสูงเกิน 2,500  เมตร  ดินในบริเวณนี้เป็นดินภูเขาที่เกิดจากการสึกกร่อนผุพังเหลือเป็นดินบาง ๆ
                   ตกค้างอยู่ บางแห่งก็มีสภาพเหมาะสมพอที่จะมีพืชพรรณขึ้น โดยรากพืชสามารถชอนลึกลงไปข้างล่าง

                   ได้ช่วยท าให้เกิดดินมากยิ่งขึ้น  เพราะมีช่องว่างท าให้มีน้ าและอากาศแทรกซึมลงไปได้ ท าให้เพิ่ม

                   อินทรียวัตถุผสมกับวัตถุต้นก าเนิดดินมากขึ้น ดินกลุ่มภูเขานี้มีสีน้ าตาล น้ าตาลปนแดง มีทั้งเนื้อหยาบ
                   และเนื้อละเอียด อายุมากบ้างน้อยมาก พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่เหมาะสมกับการเกษตรควรที่จะสงวนไว้เป็น

                   พื้นที่ป่า (ที่มา: http://oss101.ldd.go.th  สืบค้น 5 กันยายน 2556)


                   2.5 ทรัพยากรน้้าและแหล่งน้้า
                          ภาคเหนือมีแหล่งน้ าธรรมชาติที่ส าคัญ บริเวณเทือกเขาของภาคจะเป็นแหล่งก าเนิดของ

                   แม่น้ าที่ส าคัญ เช่น ปิง วัง ยม น่าน ซึ่งไหลมารวมกันที่จังหวัดนครสวรรค์ เป็นแม่น้ าเจ้าพระยา โดย
                   แบ่งออกเป็น 9  ลุ่มน้ าหลัก ประกอบไปด้วย ลุ่มน้ าปิง ลุ่มน้ าวัง ลุ่มน้ ายม ลุ่มน้ าน่าน ลุ่มน้ าโขง

                   ตอนบน ลุ่มน้ าสาละวิน ลุ่มน้ ากก ลุ่มน้ าสะแกกรังและลุ่มน้ าป่าสัก ส่วนการพัฒนาแหล่งน้ า

                   ชลประทานของภาคเหนือ ส่วนใหญ่เพื่อน ามาใช้ในด้านการเกษตร การอุปโภคและบริโภคต่างๆ โดยมี
                   การพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการเกษตรในลุ่มน้ าที่ส าคัญ ดังต่อไปนี้

                          2.5.1  ลุ่มน้้าปิง  มีพื้นที่ลุ่มน้ า 33,898  ตารางกิโลเมตร  ครอบคลุมพื้นที่ 5  จังหวัด ได้แก่

                   เชียงใหม่ ล าพูน ตาก ก าแพงเพชร และนครสวรรค์  ลุ่มน้ านี้แบ่งเป็น 21  ลุ่มน้ าสาขา ลุ่มน้ าปิงมี
                   ปริมาณน้ าท่าเฉลี่ย 5,877 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีพื้นที่ชลประทาน 1,942,927 ไร่ มีเขื่อนกักเก็บน้ า

                   จ านวน 3 เขื่อน ได้แก่ เขื่อนแม่งัด เขื่อนแม่กวง และเขื่อนภูมิพล

                          2.5.2  ลุ่มน้้าวัง  มีพื้นที่ลุ่มน้ า 10,791  ตารางกิโลเมตร  ครอบคลุมพื้นที่ 2  จังหวัด ได้แก่
                   ล าปางและตาก มีต้นก าเนิดแม่น้ าบริเวณเทือกเขาทางตอนเหนือของจังหวัดล าปางแล้วไหลลงสู่ทางใต้

                   โดยไปบรรจบกับน้ าโขง บริเวณทางเหนือของอ าเภอบ้านตาก จังหวัดตาก กลายเป็นแม่น้ าปิงไหลลงสู่
                   แม่น้ าเจ้าพระยาต่อไป ลุ่มน้ าวังมีเขื่อนเก็บกักน้ าจ าวน 2 เขื่อน ได้แก่ เขื่อนกิ่วลมละเขื่อนแม่จาง

                          2.5.3 ลุ่มน้้ายม มีพื้นที่ลุ่มน้ า 23,616 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 9 จังหวัด ได้แก่ แพร่

                   นครสวรรค์ พะเยา น่าน ล าปาง ก าแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก และพิจิตร ลุ่มน้ านี้แบ่งออกเป็น
                   12 ลุ่มน้ าสาขา อยู่ทางทิศตะวันออกของลุ่มน้ าปิงและลุ่มน้ าวัง มีพื้นที่ชลประทาน 994,205 ไร่ และมี
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22