Page 58 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 58

48





                                            ึ
                                              ื
                                     ื้
                                ่
                                 ี
                                                 ่
                                                                                                     ั
                                                                                                         ื
                                                                                             ื
                                                 ี
                                                                                    
                  และปริมาณน้ำทีมในพนที่ได ซ่งพชทสามารถเจริญเติบโตไดดี ทนตอสภาพแลงได โดยเลอกชนิดพนธุพช
                  และชวงเวลาปลูกที่เหมาะสม
                        จากสถานการณชวงตนป 2564 ไมมีฝนตก อีกท้งปริมาณน้ำเค็มเพ่มสูงขึ้น เนื่องจากไมมีน้ำจืด
                                                                                  ิ
                                                                  ั
                                           
                                      
                                                                                                    
                                                     ั
                  ไปผลักดันน้ำเค็มลงทะเล ประกอบกบประชาชนมีการใชน้ำจืดเปนจำนวนมากไมวาจะเปน
                  ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และชุมชนเมือง การเพ่มผลผลตดานการเกษตร และปศุสัตวไมวาจะ
                                                                                                       
                                                                   ิ
                                                                          ิ
                                                                      
                                    ุ
                  เปนเลี้ยงปลา เลี้ยงกง  ทำนาขาว เปนตน กิจกรรมเหลานี้ตองการใชน้ำในปริมาณมาก โดยเฉพาะใน
                                 ี
                                                   ่
                                                   ึ
                                  ี
                  อำเภอบางคลาท่มคาน้ำเค็มสูงมาก ซงสงผลกระทบตอภาคการเกษตรเปนอยางมาก โดยการกำหนด
                                            ื
                                                ่
                  แนวทางการบริหารจัดการพ้นททีมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล และจัดทำนโยบายและแผน
                                               ่
                                               ี
                                 ั
                  การจัดการ พรอมกบการเตรียมความพรอมรับมือปญหาภัยแลงรวมกับหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อบรรเทา
                                      ่
                  และแกไขปญหาภัยแลงทอาจเกิดขึ้นไดเหมาะสมกับบริบทของสถานการณและพื้นที ซึ่งจะชวยลดความสูญเสีย
                                      ี
                                                                                    ่
                                                                         ิ
                                                     ่
                                                               
                                                  ้
                                                                                 
                                                                            ิ
                                  ิ
                  ทั้งชีวิต และทรัพยสนของประชาชนในพืนทีแลงซ้ำซากไดอยางมีประสทธภาพตอไป
                                                                  
                  4.2  ขอเสนอแนะ
                                                                                                      
                                                           ี่
                        4.2.1 การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมทประสบภัยแลง เปนเพียงแนวทางในการปฏิบัติงานเทานัน
                                                                                                         ้
                                                                                                       ่
                  เมื่อนำไปปฏิบัติงานในพนที่จริง ควรมีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณและนโยบายของพื้นที่นั้น ๆ เพือให
                                                                             
                                      ื้
                    ิ
                          ิ
                  เกดประสทธิภาพสูงสุด
                        4.2.2 ปญหาเรื่องภัยแลงเปนเพียงสวนหนึ่งของปญหาที่เกิดขึ้นในภาคตะวันออก ยังมีปญหาน้ำทวมที ่
                                                                      ั
                                                                                      ิ
                  สงผลกระทบตอพื้นที่ เชน น้ำขึ้นน้ำลง ระบบโครงสรางปองกนน้ำทวมมีประสิทธภาพลดลง สภาพการใช
                   ่
                  ทีดินที่เปลี่ยนไป เปนตน
                                                                        ่
                                                                                                       ั
                                                                        ี
                        4.4.3 ในการวางแผนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมทประสบภัยแลง ควรใชฐานขอมูลรวมกนใน
                  การปฏิบัติงาน เพือใหการทำงานเปนไปในทศทางเดยวกน  และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
                                                            ี
                                                               ั
                                 ่
                                                      ิ
                        4.4.4 การแกไขปญหาภัยแลงตองไดรับความรวมมือจากทกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ
                                                                         ุ
                  ภาคประชาชน โดยเฉพาะประชาชนที่มีทุนและมีพื้นทเพอใหมีแหลงน้ำเปนของตนเอง
                                                             ี่
                                                               ื่

                  4.3  ประโยชนทคาดวาจะไดรับ
                                 ี่
                                                             ื
                                                ี่
                                             ื้
                        สามารถนำฐานขอมูลพนทแลงซ้ำซาก เพ่อวางแผนการใชประโยชนท่ดิน เกษตรกรสามารถ
                                                                                      ี
                                                                       ี
                                                                                                       
                  วางแผนการเพาะปลูกพืชใหมีความเหมาะสมตามสภาพพ้นท่ ตามสภาวการณ สามารถคาดการณแก
                                                                    ื
                  เกษตรกรในการวางแผนเพาะปลูกพชลวงหนา เพื่อชวยลดผลกระทบ และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่จาก
                                               ื
                                  
                  การทำการเกษตรตอไป
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63