Page 54 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 54

45





                                                               ่
                  3.8   แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่เพื่อลดความเสียงจากภัยแลงดานการเกษตร
                                         ้
                                            ่
                        แนวทางการจัดการพนทีเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยแลงดานการเกษตร ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 ระยะ
                                         ื
                                         ื้
                                                                                ี
                                                  ้
                                            ่
                                                  ั
                                                                                ่
                                                                                           ้
                                                                                                         ั
                  คือ แนวทางในการจัดการพนทีระยะสน จะดำเนินการในฤดูแลงหรือชวงทเกดภัยแลงขึนเปนการเฝาระวง
                                                                                  ิ
                  ตดตาม เตอนภัย บริเวณพื้นทีทีประสบภัยแลง สวนแนวทางในการจัดการพ้นทีระยะยาวนั้นเปนการ
                                              ่
                   ิ
                                                                                        ่
                                                                                     ื
                                            ่
                           ื
                                                                 ี่
                                                                                            ั
                  เสนอแนะแนวทางการปองกัน และการจัดการฟนฟูพื้นทที่ประสบภัยแลงใหสามารถนำกลบมาใชประโยชน
                                                          
                                                 ่
                  ดังนี้ (สำนักบริหารและพัฒนาการใชทีดิน, 2548)
                                                   ่
                                                ้
                                                        ้
                                                        ั
                        3.8.1 แนวทางในการจัดการพืนทีระยะสน ไดแก
                             1) การเตือนภัยแลงในชวงฤดแลง  ผานทางเวบไซต  http://irw101.ldd.go.th/index.php
                                                                ็
                                                   ู
                                           
                                                                    
                                            ี่
                             2) เฝาระวังพื้นที่ทประสบภัยแลงซ้ำซากเปนพิเศษ
                                                                                     ่
                                                 ่
                                                 ี
                                             ้
                             3) รายงานสรุปพนทีทคาดวาจะประสบภัยแลงหรือเสียหายเพอประเมินความเสียหาย
                                             ื
                                                ่
                                                                                     ื
                  และใหการชวยเหลือเบื้องตน
                                                 ้
                        3.8.2  แนวทางในการจัดการพืนทีระยะยาว ไดแก  
                                                    ่
                                                                                                         ่
                                                                                              ิ
                             1) ฟนฟูพ้นท่ท่ประสบปญหาความแหงแลง โดยการสงเสริมการอนุรักษดนและน้ำ เพม
                                 
                                         ี
                                                                                                         ิ
                                      ื
                                          ี
                                                                        ู
                                                                                            
                                                                                  ่
                                                                                  ื
                                                                                                         ิ
                  การปกคลุมดินโดยการปลูกพืชคลุมดินหรือพืชปุยสด และการปลกหญาแฝกเพอลดการชะลางพังทลายของดน
                                                                                           ่
                                                                                           ี
                  โดยเฉพาะหญาแฝก ซึ่งเปนพืชทมีการเจริญเติบโตเร็ว แตกเปนกอแนน มีระบบรากฝอยทยาว แข็งแรง และ
                                             ี่
                                                      ื
                  ยึดสานกันแนน รากหญาแฝกจึงเปรียบเสมอนกำแพงใตดิน ทำหนาทเกาะยึดดิน เก็บรักษาน้ำในดิน การ
                                                                            ี่
                  ปลูกหญาแฝกสามารถทำไดงาย และมีประโยชนมาก เชน การปลกหญาแฝกเพือการอนุรักษดินและน้ำ การ
                                                                                   ่
                                                                        ู
                                         
                                                                             ื
                  ปลูกหญาแฝกเพื่อควบคุมรองน้ำและกระจายน้ำ การปลูกหญาแฝกเพ่อรักษาความชุมชื้นในดิน การปลูก
                  แฝกเพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน เปนตน
                              2) การสรางแหลงเก็บกักน้ำ เพื่อรักษาน้ำไวใชประโยชน เปนแหลงทุนน้ำสำรองในฤดูแลง
                                                                                      
                  หรือระยะฝนทิงชวง แหลงเก็บกักน้ำจะตองคำนึงถึงความเหมาะสมกบสภาพภูมิประเทศ สภาพทาง
                               ้
                                                                               ั
                                                                              ็
                                              ึ่
                                                                          
                  เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม ซงมีหลายรูปแบบ เชน การสรางอางเกบ ฝายทดน้ำ การขุดลอก คู คลอง
                            ้
                                                                     ั
                                                                             
                           ี่
                  หนองบึง ทตืนเขิน ใหสามารถเก็บกักน้ำไดมากขึ้น และการพฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในไรนา โดยเฉพาะใน
                                                                                 ิ่
                   ้
                      ่
                  พืนทีนอกเขตชลประทานเพื่อใหเกษตรกรใชเก็บกักน้ำไวใชในฤดูแลงชวยเพมประสิทธิภาพการใชที่ดินมาก
                                                                  ้
                                      ่
                                                                              ็
                  ขึ้น และเปนการชวยเพิมระดับน้ำใตดินดวย นอกจากนีการสรางถังเกบน้ำฝนสำหรับรองรับน้ำฝนจาก
                                                                              ่
                                                         
                  หลังคาบาน หลังคาโรงเรือนตาง ๆ เกบน้ำฝนไวใชประโยชนในฤดูแลง  เพือการอุปโภคบริโภคไดอีกทางหนึ่ง
                                                 ็
                                                                                                    
                                                                                            ็
                               3) เพิมอินทรียวัตถุในดินเพื่อเปนการเพิ่มชองวางในดินทำใหดินสามารถเกบกักน้ำไวได โดย
                                                                     
                                   ่
                                                                                                   ี
                  อินทรียวัตถุ มีลักษณะเปนสารคอลลอยด อนุภาคของอินทรียวัตถุ ประกอบกันเปนโครงสรางมลักษณะ
                                                     
                  คลายฟองน้ำ มีชองวางขนาดเลก ทำใหมีพืนทีผิวในการดูดซับน้ำไดมากเปนพเศษ ปริมาณอนทรียวัตถุ
                                    
                                             ็
                                                                                                 ิ
                                                       ้
                                                          ่
                                                                                     ิ
                                                                                              ็
                   ่
                                                                                                
                        ้
                     ่
                           ุ
                  ทีเพิมขึนทก 1 เปอรเซ็นต จะชวยเพมความจุของน้ำท่เปนประโยชน เพมขึ้น 1.5 เปอรเซนต นอกจากนี้
                                                                ี
                                                                               ิ่
                                                 ่
                                                 ิ
                                                       ี
                                      ิ
                  อินทรียวัตถุยังชวยใหดนมีโครงสรางดีขึ้น มความรวนซุย การซาบซึมของน้ำดีขึ้น จึงชวยใหดินสามารถ
                  เก็บกักน้ำไวไดมากขึ้น และเพมความอดมสมบูรณของดิน
                            
                                          ิ่
                                                 ุ
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59