Page 57 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 57

47





                                                          บทที่ 4


                                                     สรุปผลการศึกษา



                                  ึ
                  4.1  สรุปผลการศกษา
                                                      ั
                        การวิเคราะหพื้นที่แลงซ้ำซากภาคตะวนออก  โดยใชปจจัยที่มีความเกี่ยวของกับพื้นทศึกษา  และที่ม ี
                                                                                             ี่
                                                        ี
                  อิทธิพลตอการเกิดพื้นที่แลงซำซากมากที่สุด  มการกำหนดคะแนนความสำคัญ  ทั้ง  5  ปจจัย  โดยกำหนด
                                         ้
                  คาถวงน้ำหนักใหแตละปจจัย  และระดับคาถวงน้ำหนักใหแตละประเภทขอมูล  จากนั้นทำการซอนทับขอมูล
                  (Overlay)  พรอมเงื่อนไขตามที่กำหนดไว  ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  และหาความสัมพันธของปจจัย
                                                                                                    ิ
                  แตละปจจัยดังกลาว  ดวยวิธีการถวงคาน้ำหนักในแตละปจจัย  การประเมินพื้นที่แลงซ้ำซาก จะใชวิธวเคราะห
                                                                                                   ี
                                     
                                                 
                  พื้นที่โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  และกำหนดตัวแปรจากปจจัย  2  กลุมปจจัย  คือ  กลุมปจจัยคงที่  กับ
                                  ่
                  กลุมปจจัยผันแปรทีทำใหเกิดภัยแลงในการกำหนดขอบเขตพื้นที่แลงซ้ำซาก  พบวา  มีพื้นที่แลงซ้ำซากภาค
                                                           ั
                     ั
                  ตะวนออก 2,890,554 ไร สามารถจำแนกเปนระดบพื้นทีแลงซ้ำซากไดดังนี้
                                                                ่
                                                                            ั้
                        4.1.1 พื้นที่แลงซำซากตั้งแต 6 ครังขึ้นไปในรอบ 10 ป มเนื้อที่ทงหมด 293,276 ไร พบมากที่จังหวด
                                                                                                         ั
                                                                      ี
                                                    ้
                                     ้
                             ่
                             ี
                           ้
                  ชลบุรี มีเนือท 148,485 ไร รองลงมา ไดแก จังหวัดระยอง มีเนื้อที่ 62,081 ไร และจังหวัดสระแกว มีเนื้อท  ี่
                                                                                        ่
                                                                     ี่
                  35,032 ไร ตามลำดับ แนวทางการบริหารจัดการพนทเกษตร ควรมีการเพิมอินทรียวัตถุในดิน
                                                                  ื้
                                                               ั
                  เพือเปนการเพมชองวางในดินทำใหดินสามารถเก็บกกน้ำไวได กอสรางบอน้ำในไรนา ขุดลอกแหลงน้ำ
                                                                     
                                                                       
                    ่
                              ิ่
                                                             ี
                             ่
                          ิ
                                                         ้
                  ธรรมชาต เพือใชประโยชนในชวงฤดูแลง ในพืนที่มการปรับตัวโดยการจัดทำโครงการโคกหนองนาโมเดล
                                                                      ิ
                  แกปญหาภัยแลง เพื่อเปนแนวทางทำใหชุมชนมีแหลงน้ำเพ่มมากขึ้น และทำใหประชาชนดูแลตนเอง
                                                                               ่
                                                          ่
                  ไดมากขึ้น รวมถึงสรางการรับรูแกเกษตรกรในเรืองของภัยแลงเปนการเพิมศักยภาพ หรือขีดความสามารถ
                           ื
                  ในการรับมอกับภัยแลง
                        4.1.2 พืนที่แลงซ้ำซาก 4-5 ครังในรอบ10 ป มีเนื้อที่ทั้งหมด 700,838 ไร พบมากที่จังหวัดสระแกว มี
                                                 ้
                               ้
                  เนื้อที่ 252,821 ไร รองลงมา ไดแก จังหวัดระยอง มีเนื้อที่ 230,492 ไร และจังหวัดชลบุรี มีเนื้อท 174,460
                                                                                                  ี่
                  ไร  ตามลำดับ  แนวทางการบริหารจัดการพื้นทควรปรับเปลี่ยนปลูกพืชชนิดอื่นหรือการผลิตในรูปแบบหรือ
                                                          ี่
                                                                  ั
                  วิธีการอื่นที่เหมาะสมกับสภาพพื้นท  ี่  ใหสอดคลองกับศกยภาพของพื้นที่รวมกับการกอสรางบอน้ำในไรนา
                                          ่
                                       ิ
                  ขุดลอกแหลงน้ำธรรมชาต เพือใชประโยชนในชวงฤดูแลง
                                 ่
                                      ้
                              ้
                                                                                                    ่
                                                                                                    ี
                                                                        ี่
                        4.1.3 พืนทีแลงซำซากไมเกน 3 ครั้งในรอบ 10 ป มีเนื้อททั้งหมด 1,896,440 ไร พบมากทจังหวัด
                                               ิ
                                                                                             ั
                             ี
                             ่
                                                      
                  ชลบุรี มีเนื้อท 633,307 ไร รองลงมา ไดแก จังหวัดระยอง มีเนือท 436,933 ไร และจังหวดสระแกว มเนื้อท  ี่
                                                                                                      ี
                                                                         ่
                                                                       ้
                                                                         ี
                  429,152 ไร ตามลำดับ แนวทางการบริหารจัดการพนทเกษตร อาจปรับเปลี่ยนการผลิตมาทำเกษตร
                                                               ื้
                                                                  ี่
                  ผสมผสาน แตควรมการเพิมเติมดวยการปลูกพืชหลังนา ไดแก การปลูกพืชปุยสด เชน พืชตระกูลถั่ว
                                    ี
                                         ่
                                                                                                  ิ
                  ปอเทือง ถั่วพรา ควรมีการใชปุยอินทรีย มีการกอสรางบอน้ำในไรนา ขุดลอกแหลงน้ำธรรมชาต การเลือก
                  ปลูกพืชอายุสั้นใชน้ำนอย สวนพืนทีปลูกไมผลไมยืนตน สามารถเลือกปรับระบบการปลูกพืชตามศักยภาพ
                                             ้
                                                ่
                                                      
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62