Page 55 - พื้นที่แล้งซ้ำซากภาคตะวันออก
P. 55

46





                                                                                                 ึ
                                                        ี่
                               4) การจัดระบบการปลูกพืชทเหมาะสม การเพาะปลูกพชจำเปนตองอาศัยน้ำ ซ่งสวนใหญ
                                                                             ื
                                                                                      
                                                    ี่
                  ไดรับจากน้ำฝน นอกจากปริมาณน้ำฝนทไดรับในชวงเดอนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมแลว ยังตองพิจารณา
                                                                ื
                  ถึงการกระจายของฝนในแตละพนที ซึงจะมฝนทงชวงแตกตางกน การเพาะปลูกจึงตองหลกเลี่ยงระยะ
                                                        ี
                                                   ่
                                                 ่
                                                                         ั
                                                            ิ
                                              ื
                                                            ้
                                              ้
                                                                                                ี
                                                                                               ่
                             ื่
                                                                  ี
                                             ี่
                                                                           
                                   
                  ฝนทิ้งชวง เพอใหไดรับผลผลิตทดีมคุณภาพ บางพนทก็มปญหาน้ำทวมจากปริมาณน้ำทาทีไหลเออลนฝง
                                                               ี่
                                                            ื้
                                                                                                       
                                                ี
                                                                                                 
                                                                                   ี
                                                                                           ั้
                  ลำน้ำ อาจทำใหพืชผลเสียหาย การจัดระบบการปลูกพืชจึงตองคำนึงหรือหลกเลี่ยง ทงชวงแลง และชวง
                      
                  น้ำทวม หรือการหาพันธุพืช ชนิดพืชทเหมาะสมในแตละทองถิน
                                                                 
                                                 ี่
                                                                    ่
                                                                                      ิ
                                           
                                             ู
                                           
                               5) การรักษาฟนฟพื้นที่ปาโดยเฉพาะพื้นที่ปาตนน้ำลำธาร ชวยใหเกดการสะสมน้ำในดิน และ
                  น้ำใตดิน รวมทงการปลูกไมยืนตนเพื่อเพมความชุมชื้นใหกบพืนที ชวยชะลอการไหลของน้ำไมใหไหล
                                                      ิ่
                                                                        ้
                                                                           ่
                                                                     ั
                               ั
                               ้
                                                                                          ิ
                  ลงสูที่ตำอยางรวดเร็วและรุนแรง ปานอกจากชวยเก็บกักน้ำฝนไวในชั้นดิน และอากาศผวดนในรูปของไอน้ำ
                        ่
                                                                                            ิ
                           
                  แลว ปาไมที่สมบูรณยังชวยใหมีน้ำไหลในลำธารตลอดทั้งป ดวยเหตุนี้จึงมีความจำเปนอยางยิ่งในการรักษา
                  สภาพปา และการฟนฟูปาไมใหสมบูรณ  

                                                                            ิ
                  3.9   มาตรการปองกนและแกไขปญหาพื้นที่แลงซำซากอยางมีประสทธิภาพ
                                     ั
                                 
                                                                    
                                                             ้
                                                                    ั
                        จากปญหาและผลกระทบ ปริมาณน้ำฝนลดลง อีกท้งปริมาณน้ำเค็มเพมสูงขึ้นเนื่องจากไมมีน้ำจืด
                                                                                    ิ่
                                                            ี
                                                ั
                         ั
                  ไปผลักดนน้ำเค็มลงทะเล ประกอบกบประชาชนมการใชน้ำจืดเปนจำนวนมากไมวาจะเปนภาคการเกษตร
                                                                                                         ุ
                  ภาคอุตสาหกรรม และชุมชนเมือง การเพิ่มผลผลิตดานการเกษตร และปศุสัตวไมวาจะเปนเลี้ยงปลา เลี้ยงกง
                                                                                  
                                                                                
                                                                   ่
                                    ิ
                                             
                  ทำนาขาว เปนตน กจกรรมเหลานี้ตองการใชน้ำสูงมาก ซึงสงผลกระทบตอภาคการเกษตรเปนอยางมาก
                                                 
                  และการปรับตัวของชุมชนในพ้นทภาคตะวนออกตอภัยแลงท่เกิดขึ้น ควรมีแนวทางในการปองกนและ
                                                                                                     ั
                                                                       ี
                                            ื
                                                       ั
                                               ่
                                               ี
                  บรรเทาปญหาภัยแลงใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น  ดังนี้
                                                                         ิ
                                                                                                       
                        3.9.1 การเพมปริมาณน้ำตนทุนเพื่อการเกษตร ดวยการเพมอินทรียวัตถุในดิน การพัฒนาแหลงน้ำ
                                                                         ่
                                  ิ
                                  ่
                                                              
                                    ่
                               
                  ชุมชนและแหลงน้ำเพือการอนุรักษดินและน้ำ การกอสรางแหลงน้ำในไรนา เชน สระน้ำในไรนานอกเขต
                  ชลประทาน และการขุดลอก ปรับปรุงแหลงน้ำในไรนา ใหเก็บกกน้ำและใชประโยชนในการผลิตไดมากขึ้น
                                                                      ั
                                                       
                                                                                                    ่
                                                                                                    ื
                        3.9.2 โครงการโคกหนองนาโมเดลแกปญหาภัยแลง เปนตนแบบในการศึกษาหาแนวทางเพอทำให
                                                           ู
                  ชุมชนมีแหลงน้ำเพิ่มมากขึ้น  และทำใหประชาชนดแลตนเองไดมากขึ้น
                                                                         ุ
                        3.9.3 การแกไขปญหาภัยแลงตองไดรับความรวมมือจากทกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ
                                                                               
                                                               ื่
                                                             ี่
                  ภาคประชาชน โดยเฉพาะประชาชนที่มีทุนและมีพื้นทเพอใหมีแหลงน้ำเปนของตนเอง
                        3.9.4 ควรมีการดูแลแหลงน้ำของแตละจังหวัดในพื้นที่ภาคตะวันออก เพื่อใหประชาชนสามารถดูแล
                  ตนเอง โดยการสนับสนุนใหชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการน้ำดวยตนเอง หรือมีการสรางโมเดล
                  ความสำเร็จเล็ก ๆ ใหชาวบานไดเห็นเปนตัวอยาง
                                                                                                       ่
                                                              ี่
                        3.9.5 การเตรียมแผนใหเกษตรกรที่อยูในพื้นทแลงซ้ำซากปรับเปลี่ยนการปลูกพชเปนทางเลือกอืน ๆ
                                                                                         ื
                                                ี
                  โดยยึดระบบความเหมาะสมของพืนทเกษตรกรรมสำหรับการปลูกพืช  (Zoning by Agri-Map)
                                                ่
                                             ้
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60