Page 56 - แล้งซ้ำซากจังหวัดสระแก้ว
P. 56

48





                   4.2 พื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจากแล้งซ้ำซาก


                       จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการนำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินระดับจังหวัดซ้อนทับกับแผนที่แล้งซ้ำซาก
                   ของจังหวัดสระแก้วด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ พบว่า มีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบและเกิดความ

                   เสียหายจากปัญหาแล้งซ้ำซากจำนวน 2,094,681 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 46.58 ของพื้นที่จังหวัดสระแก้ว โดย

                   สามารถอธิบายพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ รายอำเภอได้ดังนี้ (ตารางที่ 4 ถึง 5 และภาพที่ 16)
                           1. อำเภอเขาฉกรรจ์ มีเนื้อที่แล้งซ้ำซากทั้งหมด 150,280 ไร่ โดยพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด

                   150,280 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 2 มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 1,226 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 3
                   มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 149,054 ไร่ สภาพการใช้ที่ดินที่ได้รับผลกระทบจากแล้งซ้ำซาก คือ

                   พื้นที่นาข้าว มีเนื้อที่ 51,853 ไร่ พืชไร่ มีเนื้อที่ 71,633 ไร่ ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 25,806 ไร่ และไม้ผล มีเนื้อที่
                   988 ไร่

                         2. อำเภอคลองหาด มีเนื้อที่แล้งซ้ำซากทั้งหมด 155,336 ไร่ โดยมีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด

                   155,336 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 2 มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 11,559 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 3
                   มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 143,777 ไร่ สภาพการใช้ที่ดินที่ได้รับผลกระทบจากแล้งซ้ำซาก คือ

                   พื้นที่นาข้าว มีเนื้อที่ 5,591 ไร่ พืชไร่ มีเนื้อที่ 125,096 ไร่ ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 19,050 ไร่ และไม้ผล มีเนื้อที่

                   5,599 ไร่
                         3. อำเภอโคกสูง มีเนื้อที่แล้งซ้ำซากทั้งหมด 146,403 ไร่ โดยมีพื้นที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด 146,403 ไร่

                   พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 1 มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 591 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 2 มีพื้นที่เกษตรที่

                   ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 32,254 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 3 มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 113,558 ไร่
                   สภาพการใช้ที่ดินที่ได้รับผลกระทบจากแล้งซ้ำซาก คือ พื้นที่นาข้าว มีเนื้อที่ 100,470 ไร่ พืชไร่ มีเนื้อที่

                   35,598 ไร่ ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 10,280 ไร่ และไม้ผล มีเนื้อที่ 55 ไร่
                         4. อำเภอตาพระยา มีเนื้อที่แล้งซ้ำซากทั้งหมด 240,219 ไร่ โดยมีพื้นที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด 240,219 ไร่

                   พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 2 มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 23,949 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 3 มีพื้นที่

                   เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 216,270 ไร่ สภาพการใช้ที่ดินที่ได้รับผลกระทบจากแล้งซ้ำซาก คือ พื้นที่นา
                   ข้าว มีเนื้อที่ 154,738 ไร่ พืชไร่ มีเนื้อที่ 75,401 ไร่ ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 9,954 ไร่ และไม้ผล มีเนื้อที่ 126 ไร่

                         5. อำเภอเมืองสระแก้ว มีเนื้อที่แล้งซ้ำซากทั้งหมด 389,087 ไร่ โดยมีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด
                   389,087 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 2 มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 374 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 3 มี

                   พื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 388,713 ไร่ สภาพการใช้ที่ดินที่ได้รับผลกระทบจากแล้งซ้ำซาก คือ พื้นที่

                   นาข้าว มีเนื้อที่ 90,592 ไร่ พืชไร่ มีเนื้อที่ 98,968 ไร่ ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 197,669 ไร่ และไม้ผล มีเนื้อที่ 1,858 ไร่
                         6. อำเภอวังน้ำเย็น มีเนื้อที่แล้งซ้ำซากทั้งหมด 131,774 ไร่ โดยมีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด

                   131,774 ไร่ พื้นที่แล้งซ้ำซากระดับ 3 มีพื้นที่เกษตรที่ได้รับผลกระทบ มีเนื้อที่ 388,713 ไร่ สภาพการใช้ที่ดินที่
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61