Page 62 - Management_agricultural_drought_2561
P. 62

54



                       3) พื้นที่แล้งซ้ําซาก เกิดซ้ําไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี มีเนื้อที่ประมาณ 35,660,832 ไร่ พบมาก
               ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 23,255,675 ไร่ รองลงมาได้แก่ ภาคเหนือ มีเนื้อที่ 4,451,767 ไร่

               ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 4,070,064 ไร่ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 3,840,460 ไร่ และภาคใต้ มีเนื้อที่ 42,866 ไร่
                           พื้นที่แล้งซ้ําซากเกิดซ้ํา 6 ครั้งในรอบ 10 ปี .ในพื้นที่ภาคเหนือ พบมากในจังหวัดพิจิตร มีเนื้อที่
               149,836 ไร่ รองลงมาได้แก่ จังหวัดกําแพงเพชร และเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ 133,819  ไร่ และ 131,539 ไร่
               ตามลําดับ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบมากในจังหวัดชัยภูมิ มีเนื้อที่ 410,338  ไร่  รองลงมาได้แก่

               จังหวัดหนองบัวลําภู และขอนแก่น มีเนื้อที่ 301,706 และ 285,247 ไร่ ตามลําดับ ในพื้นที่ภาคกลาง พบมาก
               ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์  มีเนื้อที่ 14,098ไร่ รองลงมา ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี และราชบุรี มีเนื้อที่ 12,453 ไร่
               และ 11,174  ไร่ ตามลําดับ ในพื้นที่ภาคตะวันออก พบมากในจังหวัดสระแก้ว มีเนื้อที่ 1,609  ไร่ รองลงมา
               ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี และฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่ 165 ไร่ และ 142 ไร่ ตามลําดับ

               ตารางที่ 5.1 พื้นที่แล้งซ้ําซากของประเทศไทย


                 ระดับความรุนแรงต่อ                               เนื้อที่ (ไร่)

                   การเกิดภัยแล้ง
                      ซ้ําซาก        เหนือ   ตะวันออกเฉียงเหนือ   กลาง      ตะวันออก    ใต้        รวม

                > 6 ครั้งในรอบ10ปี   986,744         1,583,762      47,193   2,365       -        2,620,064


                4 - 5 ครั้งในรอบ10ปี  2,722,681     14,827,644     852,764  161,503    64,969    18,629,561


                < 3 ครั้งในรอบ10ปี   4,451,767      23,255,675   3,840,460 4,070,064   42,866    35,660,832

                       รวม         8,161,192       39,667,081    4,740,417 4,233,932 107,835    56,910,457
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67