Page 57 - น้ำท่วมซ้ำซาก 10 จังหวัดภาคเหนือ
P. 57

48


               6.2 ข้อเสนอแนะ

                       น้้าท่วมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดได้ แต่สามารถหาวิธีลดความ

               รุนแรงและบรรเทาผลกระทบและความสูญเสียที่จะเกิดได้ โดยมาตรการป้องกันความเสียหายและบริหาร

               จัดการน้้าท่วม เป็นการพยายามเรียนรู้และเข้าใจในผลกระทบจากน้้าท่วมที่มีต่อชุมชน สังคม  เศรษฐกิจที่มี

               ความเกี่ยวข้องกับผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณลุ่มน้้าและพื้นที่น้้าท่วมถึง แนวทางการป้องกันความเสียหายจากน้้า

               ท่วมและการบริหารจัดการน้้าท่วมประกอบไปด้วย มาตรการที่น้าสิ่งก่อสร้างมาใช้ลดขนาดความรุนแรงของน้้า

               ท่วม เช่น การปรับปรุงสภาพล้าน้้า การใช้อ่างเก็บน้้า เขื่อนและพนังกั้นน้้า เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีมาตรการ

               ไม่ใช้สิ่งก่อสร้างซึ่งประกอบไปด้วยมาตรการส้าหรับการป้องกันความเสียหายและการบรรเทาทุกข์  เช่น  การ

               วางผังเมือง  การพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วม ซึ่งโดยทั่วไปควรใช้มาตรการทั้งสองอย่างร่วมกันเพื่อ

               ประสิทธิภาพในการบรรเทาปัญหาน้้าท่วมที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้การส้ารวจข้อมูลความเสียหายจากภัยน้้าท่วม

               เป็นสิ่งที่ต้องท้าให้เสร็จก่อนการวางแผน เพื่อป้องกันความเสียหายจากน้้าท่วม และสิ่งที่ส้าคัญก็คือการปรับตัว

               ให้เข้ากับสภาพน้้าท่วม  ซึ่งต้องตระหนักว่าน้้าท่วมเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หากอาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้้าหรือ

               ชายฝั่งแม่น้้าและยอมรับว่าจะต้องเผชิญหน้ากับน้้าท่วมเป็นประจ้า ดังนั้นการให้ข้อมูลและความรู้เรื่องน้้าท่วม

               แก่ประชาชนจึงเป็นสิ่งที่จ้าเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้สามารถรับมือกับปัญหาน้้าท่วมได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับระดับน้้า

               วิธีการจัดการที่อยู่อาศัย พื้นที่ท้าการเกษตร การปรับเปลี่ยนฤดูกาลเพาะปลูก และการเปลี่ยนชนิดพืชปลูกให้

               ทนต่อสภาพน้้าท่วมขัง ก็จะช่วยบรรเทาความเสียหายจากภัยน้้าท่วมได้ในระดับหนึ่ง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62