Page 53 - น้ำท่วมซ้ำซาก 10 จังหวัดภาคเหนือ
P. 53

44


                      5.4.4 การปรับปรุงสภาพล้าน้้า เพื่อช่วยให้น้้าสามารถไหลตามล้าน้้าได้สะดวก หรือให้กระแสน้้าที่ไหล

               มีความเร็วเพิ่มขึ้น เพื่อที่ในฤดูน้้าหลากน้้าจ้านวนมากที่ไหลตามล้าน้้าจะได้มีระดับลดต่้าลงไปจากเดิม เป็นการ

               ช่วยบรรเทาความเสียหายเนื่องจากน้้าท่วมได้เป็นอย่างดี

                      5.4.5 เพิ่มทางผันน้้าออกสู่ทะเลให้มากขึ้น ได้แก่ การเพิ่มทางระบายน้้าลงสู่ทะเลทั้งโดยการใช้ระบบ

               คลองระบายที่มีอยู่หรือการขุดคลองขนาดใหญ่ขึ้นมาเพื่อให้มีความสามารถระบายน้้าได้มากขึ้น

                      5.4.6  การสูบน้้าออกจากพื้นที่ เพื่อช่วยเพิ่มปริมาณน้้าที่ไหลออกสู่ทะเลให้มากขึ้น รวมทั้งการเพิ่ม

               ความเร็วแรงน้้าโดยการติดตั้งเครื่องผลักดันน้้า

                      5.4.7 การสร้างแหล่งเก็บกักน้้าและระบายน้้าออกให้สอดคล้องกับการขึ้นลงของน้้าทะเลหรือการ

               ด้าเนินการตามโครงการแก้มลิง

                      5.4.8 การสร้างประตูระบายปิดกั้นน้้าทะเลบริเวณปากแม่น้้าเพื่อลดอิทธิพลของน้้าทะเลหนุน

                      5.4.9  การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้้าท่วมโดยใช้มาตรการทางผังเมืองร่วม และการใช้ประโยชน์

               ที่ดินในอนาคต ให้สอดคล้องกับโครงการป้องกันน้้าท่วมที่หน่อยงานต่างๆจะได้ด้าเนินการจัดท้าแผนบูรณาการ

               ระยะยาวต่อไป

                      5.4.10  การพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วมทั้งก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และภายหลังการเกิดภัย

               ทั้งนี้ต้องติดตั้งระบบ Real  Time  Operation  เพื่อติดตามและประเมินสถานการณ์ ณ เวลาจริง รวมทั้งใช้

               ระบบ GIS  และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูงมาช่วยในการแสดงขอบเขตและระดับความลึกของ

               พื้นที่น้้าท่วม รวมทั้งติดตั้งระบบสื่อสารจาก Operating room ของลุ่มน้้าใหญ่ไปลุ่มน้้าย่อย เพื่อกระจายข่าวที่

               ทันเหตุการณ์ และติดตั้งเครื่องรับวิทยุประจ้าหมู่บ้านเพื่อรับฟังข่าวในสภาวะเตือนภัยและฉุกเฉิน

                      5.4.11  การปรับเปลี่ยนพื้นที่วิฤตน้้าท่วมซ้้าซากให้เป็นพื้นที่พัฒนาเพื่อกิจกรรมการใช้ประโยชน์

                เฉพาะอย่าง โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตรที่ประสบปัญหาดังกล่าวควรพัฒนาเป็นพื้นที่ท้าการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า

                ทั้งนี้ภาครัฐจะต้องเข้าไปพัฒนาระบบ ส่งเสริมและให้ความรู้ในกิจกรรมใหม่ๆ ตลอดจนให้ประชาชนหรือ

                องค์กรในท้องถิ่นร่วมบริหารจัดการทรัพยากรด้วย

               5.5  มาตรการการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณพื นที่น ้าท่วมซ ้าซาก


                         5.5.1 พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นประจ้าโดยประสบน้้าท่วมขัง 8-10 ครั้ง ในรอบ 10 ปี และมีความเสี่ยง

               สูงต่อการลงทุนพัฒนาทางการเกษตร  เนื่องจากพื้นที่มีสภาพเป็นที่ราบเรียบถึงเกือบราบเรียบ มีน้้าแช่ขัง

               ประมาณ 4-5  เดือนในรอบปี ดังนั้นมาตรการในการจัดการพื้นที่ดังกล่าวจึงควรมีการศึกษาการเกิดน้้าท่วม

               ช่วงของการเกิดน้้าท่วม และปริมาณการเกิดน้้าท่วมในแต่ละครั้ง เพื่อก้าหนดรูปแบบ ช่วงการเพาะปลูกและ

               ระบบการเพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และช่วงเวลาการเกิดน้้าท่วมเพื่อลดความเสียหายที่จะ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58